หน้าต้น ระบุ “ฯ หน้ารับเค้า พุทธวงศ์ ผูกถ้วน ๙ มีอยู่ ๑๕ ผูกด้วยกันและ คล่องแล้ว” (ตัวเอียงไม่ลงหมึก) ท้ายลาน ระบุ “กริยาอันกล่าวยังพุทธวงศา ผูกถ้วน ๙ ก็แล้ว เท่านี้ก่อนแล ฯ บริบูรณ์แล้ว ยาม ๒ ทุ่มเจ้าเหย จลอนว่าผิดเพี้ยนเปลี่ยนอักษรกลอนคำธรรมพระพุทธสินนสีเจ้า (ชินสีห์เจ้า) สาธุใส่แปลงแต่ใส่หื้อข้าเจ้า จิ่มพร่องเทอะ เจ้าที่ไหว้เป็นไม้ไต้ส่องหนทางนิพพานแด่เทอะ” หน้าปลาย ระบุ “ฯ หน้ารับปลาย พุทธวงศ์ ผูกถ้วน ๙ บริบูรณ์ ยาม ๒ ทุ่มและ คล่องแล้ว” (ตัวเอียงไม่ลงหมึก)
RBR_003_262-276 รวมอยู่ใน “เลขที่ 104 พุทธวงศ์ อักษรธรรมล้านนา ภาษาบาลี-ไทยล้านนา ฉบับทองทึบ 15 ผูก” หน้าต้น ระบุ “ฯ หน้าต้น พุทธวงศา ผูกถ้วน ๑๑ แล เจ้าเหย ตัวบ่ละเอียดเต็มทีอย่าแล้ว คล่องแล้ว” ท้ายลาน ระบุ “อิติกสฺสปพุทฺธวงฺสวณฺณนา นิฏฺฐิตา กริยากล่าววรรณนายังวงศาแห่งพระพุทธเจ้าตนชื่อ กัสสป ก็แล้วเท่านี้ก่อนและ ฯ นิพฺพาน ปจฺจยฺโย โหนฺตุ เม นิจฺจํ ดั่งนี้แด่เทอะ บริบูรณ์แล้ว ยาม ๒ ทุ่ม เจ้าข้า อหํ นาม ชื่อว่า สุวรรณปัญญา ตัวข้าแท้ ชื่อว่าผู้ใหญ่คำ บ้านนาโป่ง ต้นม่วง เป็นผู้เขียนหื้อแก่ลุงปู่ใจบ้านดงสระแก้วแล้ว แต่ก่อนอยู่เมืองราทธี เขียนยามปี พ.ศ. ๒๔๖๔ ปีวอก เดือนอ้าย แรม ๓ ค่ำ ว่าได้วันเสาร์ ยามนั้นและ ฯะ๛” หน้าปลาย ระบุ “ฯ หน้าปลาย พุทธวงศา ผูกถ้วนสิบ ๑ แล คล่องแล้ว”
RBR_003_262-276 รวมอยู่ใน “เลขที่ 104 พุทธวงศ์ อักษรธรรมล้านนา ภาษาบาลี-ไทยล้านนา ฉบับทองทึบ 15 ผูก” หน้าต้น ระบุ “ฯ หน้าทับเค้า พุทธวงศ์ ผูกถ้วนสิบ ๒ บริบูรณ์แล คล่องแล้ว” ท้ายลาน ระบุ “กริยาเทศนาพุทธวงศ์ ผูกถ้วนสิบ ๒ ก็สมเร็จเสด็จแล้ว เท่านี้ก่อนและ บริบูรณ์แล้ว ยามค่ำแลเจ้าที่ไหว้เหย ฯะ” หน้าปลาย ระบุ “ฯ หน้าปลาย พุทธวงศ์ ผูกถ้วนสิบ ๒ มีอยู่สิบ ๕ กันเท่านี้แล ฯฯ”
RBR_003_262-276 รวมอยู่ใน “เลขที่ 104 พุทธวงศ์ อักษรธรรมล้านนา ภาษาบาลี-ไทยล้านนา ฉบับทองทึบ 15 ผูก” หน้าต้น ระบุ “ฯ หน้ารับต้น พุทธวงศ์ ผูกถ้วนสิบ ๓ บริบูรณ์แล คล่องแล้ว” ท้ายลาน ระบุ “กริยาอันกล่าววรรณนาพุทธวงศ์ ผูกถ้วน ๑๓ ก็แล้ว เท่านี้ก่อนและ บริบูรณ์แล้ว ยามบ่าย ๑ โมง ปีระกา เดือน ๕ ขึ้น ๒ ค่ำ ยามนั้นแล นิพฺพาน ปจฺจยฺโย โหนฺตุ เม นิจฺจํ ฯ” หน้าปลาย ระบุ “ฯ หน้ารับปลาย พุทธวงศ์ ผูกถ้วนสิบ ๓ มีอยู่สิบ ๕ ผูกแล ฯ”
RBR_003_262-276 รวมอยู่ใน “เลขที่ 104 พุทธวงศ์ อักษรธรรมล้านนา ภาษาบาลี-ไทยล้านนา ฉบับทองทึบ 15 ผูก” หน้าต้น ระบุ “๏ หน้าต้น พุทธวงศ์ ผูกถ้วน ๑๔ บริบูรณ์แล้ว ยาม ๒ ทุ่มพอดีแล คล่องแล้ว” ท้ายลาน ระบุ “กริยาอันกล่าวยัง พุทธวงศ์ ผูกถ้วน ๑๔ ก็สมเร็จเสด็จแล้ว เท่านี้ก่อนและ บริบูรณ์แล้ว ยาม ๒ ทุ่ม เดือน ๕ วันอังคาร ขึ้น ๕ ค่ำ ปีระกา ต่อกันกับจอ ยามนั้นแล ๚ พ.ศ. ๒๔๖๔” หน้าปลาย ระบุ “ฯ หน้าปลาย ผูกถ้วน ๑๔ มีอยู่สิบ ๕ ผูกเท่านี้แล คล่องแล้ว”
RBR_003_262-276 รวมอยู่ใน “เลขที่ 104 พุทธวงศ์ อักษรธรรมล้านนา ภาษาบาลี-ไทยล้านนา ฉบับทองทึบ 15 ผูก หน้าต้น ระบุ “หน้าปลาย มหาพุทธวงศ์ ผูก ๑๕ และ เจ้าเหย คล่องแล้ว” หน้ารอง เขียนอักษรธรรมด้วยดินสอ “นิมนต์ท่านดูผูกต้นกับปลาย จำไว้ดี” ท้ายนลาน ระบุ “พุทฺธานุสฺสติกถาสมตฺตา กริยาอันกล่าวจาพุทธานุสสติกรรมฐานอันมีในมหาพุทธวงศปกรณ ก็สมเร็จเสด็จแล้วด้วยประการดั่งกล่าวมานี้แล ฯะ บริบูรณ์แล้ว ยาม ๑ ทุ่ม ปีระกา เดือน ๔ แรม ๖ ค่ำ พร่ำว่าได้วันเสาร์ เจ้าเหย อหํ นาม ชื่อว่า หนานคำ บ้านนาโป่ง หมู่ที่ ๕ ริจนาหื้อปู่ใจ ดงสระแก้ว ยามนั้นแล ะ” หน้าปลาย ระบุ “ฯ หน้าปลาย มหาพุทธวงศ์ ผูก ๑๕ บริบูรณ์ ยาม ๑ ทุ่มแล คล่องแล้ว”
RBR_003_277-289 รวมอยู่ใน “เลขที่ 157 มังคลัตถะทิปนี อักษรธรรมล้านนา ภาษาบาลี-ไทยล้านนา ฉบับล่องชาด 13 ผูก” หน้าต้น ระบุ “๏ หน้าทับเค้า มังคลัตถทีปนี ผูกถ้วน ๒ และ คล่องแล้ว” / เขียนอักษรไทยด้วยปากกาลูกลื่นสีน้ำเงิน และดินสอ “ผูก ๒” ท้ายลาน ระบุ “กริยาอันกล่าวห้องมังคลัตถทีปนี ผูกถ้วน ๒ ก็แล้ว เท่านี้ก่อนและ ฯ บริบูรณ์แล้ว ยาม ๓ ทุ่มเศษแล ฯ” หน้าปลาย ระบุ “ฯ หน้าทับปลาย มังคลัตถทีปนี ผูกถ้วน ๒ แล ฯ บริบูรณ์แล้ว ๓ ทุ่มแล คล่องแล้ว”
RBR_003_277-289 รวมอยู่ใน “เลขที่ 157 มังคลัตถะทิปนี อักษรธรรมล้านนา ภาษาบาลี-ไทยล้านนา ฉบับล่องชาด 13 ผูก” ท้ายลาน ระบุ “กริยาอันสังวรรณนาแก้ไขยัง มังคลทีปนี ผูกถ้วน ๓ ก็สมเร็จเสด็จบรมวลเท่านี้ก่อนแล ฯ ปริปุณณาแล้ว ยาม ๖ ทุ่มเศษ เจ้าข้า อหํ นาม ชื่อว่า หนานผู้ใหญ่คำ แต้มหื้อลุงใจและ” หน้าปลาย ระบุ “๏ หน้าปลาย มังคลทีปนี ผูก ๓ และ คล่องแล้ว” / เขียนอักษรไทยด้วยปากกาลูกลื่นสีน้ำเงิน “ผูก ๒”
RBR_003_277-289 รวมอยู่ใน “เลขที่ 157 มังคลัตถะทิปนี อักษรธรรมล้านนา ภาษาบาลี-ไทยล้านนา ฉบับล่องชาด 13 ผูก” หน้าต้น ระบุ “ฯ หน้าทับเค้า มังคลทีปนี ผูกถ้วน ๕ แล ฯ คล่องแล้ว” (ตัวเอียงไม่ลงหมึก) / เขียนอักษรไทยด้วยปากกาลูกลื่นสีน้ำเงิน และดินสอ “ผูก ๕” / เขียนอักษรไทยด้วยปากกาเมจิสีน้ำเงิน “มงคลทิพปลาณี ผูกถ้วน ๕ แล่” ท้ายลาน ระบุ “โวหารมังคลทีปนี ผูกถ้วน ๕ ก็สมเร็จเสด็จแล้ว เท่านี้ก่อนและ ฯ ปริปุณณาแล้ว ยามเวลาเข้ายาม ๒ ทุ่ม เดียน (เดือน) สิบ ๒ ขึ้น สิบ ๓ ค่ำ วันจันทร์ ก็บริบูรณ์และ” หน้าปลาย ระบุ “ฯ หน้าทับปลาย มังคลทีปนี ผูกถ้วน ๕ แล เจ้าเหย ฯะ คล่องแล้ว” (ตัวเอียงไม่ลงหมึก)