RBR_003_277-289 รวมอยู่ใน “เลขที่ 157 มังคลัตถทีปนี อักษรธรรมล้านนา ภาษาบาลี-ไทยล้านนา ฉบับล่องชาด 13 ผูก” หน้าต้น ระบุ “ฯ โวหารมังคลทีปนี ผูกถ้วน ๖ แล คล่องแล้ว” / เขียนอักษรไทย ด้วยปากกาลูกลื่นสีน้ำเงิน และดินสอ “ผูก ๖” ท้ายลาน ระบุ “โวหารมังคลทีปนี ผูกถ้วน ๖ ก็แล้ว เท่านี้ก่อนแล ฯ บริบูรณ์แล้ว ยาม ๔ ทุ่ม เจ้าข้า อหํ นาม ชื่อว่า หนานผู้ใหญ่คำ บ้านนาโป่งน้อย แต้มหื้อลุงใจ บ้านดงสระแก้วแล” หน้าปลาย ระบุ “ฯ หน้าปลาย มังคลทีปนี ผูกถ้วน ๖ แล เจ้าเหย ตัวบ่ใคร่ละเอียดเต็มทีเนอ คล่องแล้ว”
RBR_003_277-289 รวมอยู่ใน “เลขที่ 187 มังคลัตถทีปนี อักษรธรรมล้านนา ภาษาบาลี-ไทยล้านนา ฉบับล่องชาด 13 ผูก” หน้าต้น ระบุ “๏ หน้าทับเค้า มังคลทีปนี ผูกถ้วน ๗ และ คล่องแล้ว ตามสบับ” (ตัวเอียงไม่ลงหมึก) / เขียนอักษรไทย ด้วยดินสอ “ผูก ๗” ท้ายลาน ระบุ “ฯ มังคลทีปนี ผูกถ้วน ๗ ก็แล้ว บรมวลเท่านี้ก่อนแล ฯะ” หน้าปลาย ระบุ “ฯ หน้าปลาย มังคลทีปนี ผูกถ้วน ๗ บริบูรณ์ และ คล่องแล้ว” / เขียนอักษรไทย ด้วยปากกาลูกลื่นสีน้ำเงิน “ผูก ๗”
RBR_003_277-289 รวมอยู่ใน “เลขที่ 157 มังคลัตถทีปนี อักษรธรรมล้านนา ภาษาบาลี-ไทยล้านนา ฉบับล่องชาด 13 ผูก” หน้าต้น ระบุ “๏ หน้าทับเค้า มังคลทีปนี ผูกถ้วน ๘ และ คล่องแล้ว” (ตัวเอียงไม่ลงหมึก) / เขียนอักษรไทย ด้วยปากกาลูกลื่นสีน้ำเงิน “ผูก ๘” ท้ายลาน ระบุ “โวหารมังคลทีปนี ผูกถว้น ๘ ก็แล้ว เท่านี้ก่อนแล ฯ” หน้าปลาย ระบุ “ฯ หน้าปลาย มังคลทีปนี ผูกถ้วน ๘ บริบูรณ์และ คล่องแล้ว”
RBR_003_277-289 รวมอยู่ใน อยู่ใน “เลขที่ 157 มังคลัตถทีปนี อักษรธรรมล้านนา ภาษาบาลี-ไทยล้านนา ฉบับล่องชาด 13 ผูก” หน้าต้น ระบุ “๏ หน้าทับเค้า มังคลทีปนี ผูกถ้วนสิบและ คล่องแล้ว” / เขียนอักษรไทย ด้วยดินสอ “ผูก ๑๐” ท้ายลาน ระบุ “ฯ โวหารมังคลทีปนี ผูกถ้วนสิบ ก็สมเร็จเสด็จแล้ว เท่านี้ก่อนแล ฯะ ปริปุณณาแล้ว ยามบ่าย ๕ โมงเย็น เดิือน ๕ แรม ๑๓ ค่ำ ปีมะเมีย พ.ศ. ๒ พัน ๔๗๓ ยามบ่าย ก็ปริปุณณาแล” หน้าปลาย ระบุ “๏ หน้าปลาย มังคลทีปนี ผูกถ้วนสิบ และ คล่องแล้ว” / เขียนอักษรไทย ด้วยปากกาลูกลื่นสีน้ำเงิน “ผูก ๑๐”
RBR_003_277-289 รวมอยู่ใน “เลขที่ 157 มังคลัตถทีปนี อักษรธรรมล้านนา ภาษาบาลี-ไทยล้านนา ฉบับล่องชาด 13 ผูก” หน้าต้น ระบุ “๏ หน้าทับเค้า มังคลทีปนี ผูกถ้วนสิบ ๑ ปริปุณณา บ่าย ๓ โมงเย็น แล คล่องแล้ว” / เขียนอักษรไทย ด้วยปากกาลูกลื่นสีน้ำเงิน “ผูก ๑๑” ท้ายลาน ระบุ “โวหารธรรมเทศนามังคลทีปนี ผูกถ้วนสิบ ๒ ก็สมเร็จเสด็จแล้ว เท่านี้ก่อนและ บริบูรณ์จบแล้ว ยาม ๔ ทุ่มเศษและ หน้าปลาย ระบุ “ฯ หน้าปลาย มังคลทีปนี ผูกถ้วนสิบ ๒ และ คล่องแล้ว”
RBR_003_277-289 รวมอยู่ใน “เลขที่ 157 มังคลัตถทีปนี อักษรธรรมล้านนา ภาษาบาลี-ไทยล้านนา ฉบับล่องชาด 13 ผูก” หน้าต้น ระบุ “๏ หน้าทับเค้า มังคลทีปนี ผูกถ้วนสิบ ๓ และ คล่องแล้ว” / เขียนอักษรไทย ด้วยดินสอ “ผูก ๑๓” ท้ายลาน ระบุ “มหามงฺคลสุตฺตํ มหามังคลสูตร อันประกอบด้วยคาถาทั้งหลายสิบบาทคาถาอันประดับไปด้วยมังคละ ๓๘ ก็สมเร็จเสด็จบรมวลเท่านี้ก่อนและ” หน้าปลาย ระบุ “ฯ หน้าทับปลาย มังคลทีปนี ผูกถ้วนสิบ ๓ และ คล่องแล้ว” / เขียนอักษรไทย ด้วยปากกาลูกลื่นสีน้ำเงิน “ผูก ๑๓”
RBR_003_290-299 รวมอยู่ใน “เลขที่ 15 มหานิบาตทสชาติ (มโหสถ) อักษรธรรมล้านนา ภาษาบาลี-ไทยล้านนา ฉบับทองทึบ 10 ผูก” หน้าต้น ระบุ “๚ มโหสถ ผูก ๒ แล มีสิบผูกกับกันเท่าอั้นแล คัมภีร์นี้ ฯฯะ๛ / เขียนอักษรไทย ด้วยปากกาลูกลื่นสีน้ำเงิน “มะโหสด ๒” ท้ายลาน ระบุ “เอกุสวีสติปญฺหา นิฏฺฐิตา ปัญหาทั้งหลายอันได้สิบ ๙ ıı อันเข้ามาในมโหสถชาตก ผูกถ้วน ๒ ก็สมเร็จเสด็จแล้วเท่านี้ก่อนแล ıı จบกัณฑ์แล เสด็จวันอังคาร มอกไถนาแลงแล เดือนยี่ ปีชวด ข้าหัดเขียนใหม่แล ข้าขอมีสุข ๓ ประการ มีนิพพานเป็นที่แล้ว ข้อขอหื้อมีสติปัญญาเหมือน ๑ เจ้ามโหสถ หื้อข้ามีคำอดเหมือน ๑ เจ้าเตเมย์ (เตมีย์) ขอหื้อข้ามีคำเทศนาธรรมเหมือน ๑ เจ้าวิธูรบัณฑิต ขอหื้อข้าได้รับเอาบุญเหมือน ๑ นางผุสดี ขอหื้อข้ามีฤทธีเหมือนพระยากัปปินราช ขอหื้อข้ามีอำนาจเหมือนพระยาอินทร์ พระยาพรหม ข้าไปทางใดขอหื้อได้กินอุดม อย่าไปหื้อข้าได้อดได้อยาก ข้าขอฝากตัวข้าไว้เป็นลูกศิษย์พระพุทธเจ้า พระธรรมเจ้า พระสังฆเจ้า พระอริยเมตไตรยเจ้ากู พระองค์นั้นเทอะ ได้เหมือนคำนึกนี้เทอะ ผู้เขียนก็หื้อได้ ผู้คึดก็หื้อได้ ผู้เจ้าเพิ่นไปซื้อใบลานมาก็หื้อได้ คันว่าผู้ใดเล่าก็เก็บไว้หื้อดีแล สร้างยากเต็มทีแล เจ้า เต๑ ı ช๒ ส๓ (ควรเป็น สุ) ı เน๔ ı ม ı ภู ช (ควรเป็น จ) ıı นา ıı วิ ıı เว ıı อันนี้ ๑๐ ชาติแล เต นั้น ชาติ ๑ ıı ช นั้น ๒ ชาติ ıı ส (ควรเป็น สุ) นั้น ๓ ชาติ ıı เน นั้น ๔ ชาติ ıı ม นั้น ๕ ชาติ ıı ภู นั้น ๖ ชาติ ıı ช (ควรเป็น จ) นั้น ๗ ชาติ ıı นา นั้น ๘ ชาติ ıı วิ นั้น ๙ ชาติ ıı เว นั้น ๑๐ ชาติ แล สาธุ สฺคเค กาเม จ รูเป คิริสิขรตเฎ จนฺตลิกฺเข วิมาเน ที[ฯ] ๓ จบ ๚” / “ปีชวด พระพุทธศักราชล่วงแล้ว สองพัน สี่ร้อย ๚ สี่สิบสาม พระวัสสา ท่านอุปัชฌาย์นิ่ม จุลสุมณะ สร้างไว้ในพระพุทธศาสนา หื้อถ้วนห้าพันวัสสา เพื่อหื้อเป็นที่ศึกษาเล่าเรียนไปตามสติปัญญาแห่งตน ขอหื้อผละผลค้ำชูผู้สร้างหนังสือเจ้ามโหสถนี้จิ่มเทอะ มโหสถ ผูกถ้วนห้ามีสิบผูกกับกันแล คัมภีร์นี้ ขออย่าหื้อพรากเสียกันแลนา นายที่ไหว้เหย ขอหื้อช่วยเอาใจใส่ดูแลแท้ ๆ เนอ ทุพี่ทุอาวเหย หื้อมีสติระลึกได้ อย่าไปประมาท”
RBR_003_290-299 รวมอยู่ใน “เลขที่ 15 มหานิบาตทสชาติ (มโหสถ) อักษรธรรมล้านนา ภาษาบาลี-ไทยล้านนา ฉบับทองทึบ 10 ผูก” หน้าต้น ระบุ “ หนังสือมโหสถ ผูก ๓ แล ฯฯะ๛ / เขียนอักษรไทย ด้วยปากกาลูกลื่นสีน้ำเงิน “มโหสด ผูก ๓”, “พุดดอ” และดินสอ “๓” ท้ายลาน ระบุ “วิสฺสตินปาโตสิริเมณฺฑปญฺโห นิฏฺฐิตํ กริยาอันกล่าวยังเมณฑปัญหา อันตกแต่งไว้ได้ซาว ๑ ก็สมเร็จแล้วเท่านี้ก่อนแล ฯฯะ๛ เสด็จแล้วยามสัน (ฉัน) จังหันแล้วน้อย ๑ ปีสลู (ฉลู) เดือน ๘ แรม ๔ ค่ำ วันเสาร์ พุทธศักราชล่วงไปแล้วได้ ๒ พัน ๔ ร้อย ๔๐๔ Xสองพันสี่ร้อยสี่สิบสี่ พระวัสสา คิมหันตฤดู ปีนี้เป็นเดือน ๘ สองหน แล้วหนังสือพระมโหสถ ผูกถ้วน ๓ แล หนังสือวัดหนองบัว คัมภีร์นี้นี้มีกับกันสิบผูกเท่านั้นแล เขียน ๔ องค์กับกันช่วยกันแล รัสสภิกขุเสาร์เขียนกลางปลายนี้งามแท้ ๆ คำเดียวท่านทั้งหลายเหย ตกพร่อง ผิดพร่อง ใส่หื้อจิ่มเทอะเนอ ข้าเขียนไว้ค้ำชูพระศาสนาไปชั่วนี้ชั่วหน้า ขอหื้อข้าได้ ๓ ประการเทอะ เมื่อลุก เมื่อนอน เมื่อเทียว ไปมา ข้าขอได้สุข ๓ ประการมีนิพพานเป็นยอดเขาะขอดเสี้ยงสรรพะทุกอัน ขอหื้อข้าแก่เปรศนาปัญหาได้ชู่ไม้ชู่ตัวธรรมคำสอนพระพุทธเจ้าม” (ลานไม่ครบ)
RBR_003_290-299 รวมอยู่ใน “เลขที่ 15 มหานิบาตทสชาติ (มโหสถ) อักษรธรรมล้านนา ภาษาบาลี-ไทยล้านนา ฉบับทองทึบ 10 ผูก” หน้าต้น ระบุ “ฯฯ หนังสือเจ้ามโหสถ ผูก ๔ มีสิบผูกกับกันแล หนังสือวัดหลวงบัว คัมภีร์นี้แล ฯฯะ๛”, “ มโหสถ ผูก ๔ แล :๛” / เขียนอักษรไทย ด้วยปากกาลูกลื่นสีน้ำเงิน “มโหสด ผูก ๔” ท้ายลาน ระบุ “ภูริปญฺโห นิฏฺฐิโต กริยาอันกล่าวยังภูริปัญหา ก็สมเร็จแล้วเท่านี้ก่อนแล เสด็จแล้วแล สันงังหัน (ฉันจังหัน) แล้วแล มึดหนึ่งแล้วเมินน้อย ๑ ก็จบแล แล้ววันอังคาร เดือน ๑๐๒ คืนค่ำ ๑ ได้ชะใดเหมือนกัน ขอหื้อได้เหมือนกัน แด่เทอะ ข้าเขียนหนังสือเจ้ามโหสถผูกนี้ บ่ดีสักน้อยเหมือน ๑ ปูน้อยยาดคันนา อย่าไปใคร่หัวลายมือข้าเนอ กำลังเขียนใหม่ บ่เคยสักคำเทื่อ ข้าเขียนปางเมื่ออยูวัดน้อยแลนายเหย รัสสภิกขุเขต อยู่บ้านดอนปีน แลนายเหย จบ”, “๚ หนังสือเจ้ามโหสถ ผูกถ้วน ๔ มีสิบผูกกับกันแล คัมภีร์นี้หนังสือวัดหนองบัวแลนายเหย ฯฯ๛”