เอกสารโบราณ

ตัวอักษร : ธรรมล้านนา

พบผลลัพธ์ทั้งหมด 353 รายการ (40 หน้า)

RBR003-248 พระมาลัย ผูก ๒

ธรรมคดี
ไทยวน , เชียงแสน , ล้านนา , ราชบุรี , วรรณกรรมพื้นบ้าน , ชาดก , พระมาลัย , นรก , สวรรค์ , พระศรีอาริย์

RBR_003_244-248 รวมกันอยู่ใน “เลขที่ 29 พระมาลัย อักษรธรรมล้านนา ภาษาบาลี-ไทยล้านนา ฉบับทองทึบ 5 ผูก” หน้าทับต้น ระบุ “๏หนังสือพระมาลัย ผูก ๒ แล ฯฯะ๛” / เขียนอักษรไทยด้วยปากกาลูกลื่นสีแดง “มาลัย ผูก ๒” และสีน้ำเงิน “พระมาลัย ผูก ๒ แล” ลานแรก ด้านซ้ายมือ ระบุ “มาลัย ผูก ๒” ท้ายลาน ระบุ “กิริยาอันกล่าวยังทุติยะมาลัย ผูกถ้วน ๒ ก็แล้วเท่านี้ก่อนแล ฯฯะ๛” เสด็จแล้ว ร้อย๑๙ ปีชวด เดือน ๘ แรม ๑๔ ค่ำ วันพุธ ยามน้องเพลแล ฯฯะ๛ หนังสือวัดหนองบัว นิพฺพาน ปจฺจโย โหตุ เม ขอหื้อข้าได้สำเร็จพระนิพพานแก่ข้าแด่เทอะ

RBR003-249 ยอดปิฎก ผูกเดียว

ธรรมคดี
ไทยวน , เชียงแสน , ล้านนา , ราชบุรี , พุทธศาสนา , พระไตรปิฎก

RBR_003_249-251 รวมกัน ไม่มีฉลาก ทองหลุด ทองทึบ พื้นชาด,รัก หน้าทับต้น เขียนอักษรไทยด้วยปากกาลูกลื่นสีแดง “ยอดปิตะกะ ผูกเดียว” / ระบุ “หน้าทับเค้ายอดปิฏกแล” ท้ายลาน ระบุ “กล่าวห้องยอดไตรปิฏกทั้ง ๓ ชาดกก็แล้วเท่านี้ก่อนแล ๛ ที่ใดผิดนิมนต์ช่วยเขียนใส่ไว้เทอะ ทุพี่ก็ดี สามเณรก็ดี ๛ ตัวบ่งามสักหน้อยแล ะ๛”

RBR003-250 ยอดปิฎก ผูกเดียว

ธรรมคดี
ไทยวน , เชียงแสน , ล้านนา , ราชบุรี , พุทธศาสนา , พระไตรปิฎก

RBR_003_249-251 รวมกัน ไม่มีฉลาก หน้าทับ เขียนอักษรไทยด้วยดินสอดำ “ยอดไตปิตะกะ” และปากกาลูกลื่นสีแดง “ยอดปิตะกะ ผูกเดียว” ท้ายลาน ระบุ “กล่าวห้องยอดไตรปิฏกทั้ง ๓ ก็แล้วเท่านี้ก่อนแล แลฯฯ ๛ แล แล แล แล แล ยอดไตรปิตกสมเร็จเสด็จแล้วแล ฯฯ ๛ รัสสภิกขุ อยู่วัดห้วยไพร ชื่อว่า พุทธสอนเขียน หื้อเป็นปัจจัยแก่เมืองแก้ว คือว่า นิพพานแด่เทอะ ฯฯ๛” มีรอยแก้ไขด้วยปากกาลูกลื่นสีน้ำเงิน

RBR003-251 ทีปทั้ง 4 ผูกเดียว

ธรรมคดี
ไทยวน , เชียงแสน , ล้านนา , ราชบุรี , พุทธจักรวาล , ทวีปทั้งสี่

RBR_003_249-251 รวมกัน ไม่มีฉลาก หน้าทับต้น เขียนอักษรไทยด้วยปากกาลูกลื่นสีแดง “ตีบทั้ง ๔ ผูกเดียว” / เขียนอักษรไทยด้วยดินสอดำ “วันที่ ๑ มกราคม พศ ๒๔X๔” ลานแรก ด้านซ้ายมือ ระบุ “ทีปทั้ง ๔ ผูกเดียว” ท้ายลาน ระบุ “สังขยาจาด้วยนารกก็แล้วเท่านี้ก่อนแลฯฯ๛” มีรอยแก้ไขด้วยปากกาลูกลื่นสีน้ำเงิน

RBR003-252 มหาวงศ์ ผูก 1

ธรรมคดี
ไทยวน , เชียงแสน , ล้านนา , ราชบุรี , มหาวงศ์ , พงศาวดารเมืองลังกา

RBR_003_252-261 รวมอยู่ใน “เลขที่ 144 มหาวงศ์ อักษรธรรมล้านนา ภาษาบาลี-ไทยล้านนา ฉบับทองทึบ 10 ผูก” หน้าต้น ระบุ “ฯ หน้าทับเค้า มหาวงศ์ ผูกต้น แลนายเหย ศรัทธาปู่ใจสร้างไว้ค้ำศาสนาแล ท่องแล้วทานแล้วตามสบับเก่าเพิ่นแล” (ตัวเอียงไม่ลงหมึก) / เขียนอักษรไทย ด้วยปากกาลูกลื่นสีแดง “ผูกที่ ๑” และสีน้ำเงิน “มหาวงศ์” ท้ายลานระบุ “สุชนปสาทสงฺเวคฺคตฺถายาปริจฺเจท ถ้วน ๒ ชื่อ มหามสมตฺตวงฺสปริจฺเจท ในมหาวงศ์อันแต่งเพื่อหื้อได้ประสาทะศรัทธาแล สะดุ้งหมายวัฏสงสารก็แล้ว เท่านี้ก่อนแล จบแล้ววัน ๕ แก่ข้าแด่เทอะ ข้าเขือน (ควรเป็น เขียน) ตัวบ่เสมอกันแลท่านเหย นิมนต์พิจารณาดูตรงถี่ ๆ เทอะ” หน้าปลาย ระบุ “ฯ หน้าทับปลาย มหาวงศ์ ผูกต้นแล ศรัทธาปู่ใจสร้างไว้ค้ำศาสนาแล” / เขียนอักษรไทยด้วยปากกาเมจิกสีน้ำเงิน “มะหาวงฺ ผุกต้น วัดดอนแจ่ง”

RBR003-255 มหาวงศ์ ผูก 4

ธรรมคดี , ประวัติศาสตร์
ไทยวน , เชียงแสน , ล้านนา , ราชบุรี , มหาวงศ์ , พงศาวดารเมืองลังกา

RBR_003_252-261 รวมอยู่ใน “เลขที่ 144 มหาวงศ์ อักษรธรรมล้านนา ภาษาบาลี-ไทยล้านนา ฉบับทองทึบ 10 ผูก” หน้าต้น ระบุ “ศรัทธาปู่หลวงแม่ป้าเภียร สร้างไว้ค้ำชูศาสนาศาสนา” / เขียนอักษรไทย ด้วยปากกาลูกลื่นสีแดง “ผูกที่ ๔ ” และสีน้ำเงิน “มหาวงศ์” ท้ายลานระบุ “สาธุสุชนปสาทสํคตฺถายกต มหาวงฺสปริเจท อันถ้วน ๗ ชื่อว่า วิชยาภิเษกปริเฉท อันนี้มีใน มหาวงฺสปกรณ อันอาจารย์เจ้าหากแต่งแปลงไว้เพื่อบังเกิดปสาทแลสังเวคญาณแก่สาธุชนทั้งหลายก็สมฤทธีบรมวลควรแก่กาลธรรมเทศนาเท้านี้ก่อนแล ๚ บริบุณณา แล้วยามบ่าย ๑ โมงแล เจ้าเหย นิพฺพาน ปจฺจยฺโย โหตุ เม นิจฺจํ ดั่งนี้แด่เทอะ ฯะ” หน้าปลาย ระบุ “ฯ หน้าปลายมหาวงศ์ผูกถ้วน ๔ แลเจ้าเหย ฯะ ท่องแล้วตามสบับเดิมเขาแล ” / เขียนอักษรไทยด้วยปากกาเมจิกสีน้ำเงิน “มะหาวงฺผุก ๔ วัดดอนแจ่ง”

RBR003-257 มหาวงศ์ ผูก 6

ธรรมคดี , ประวัติศาสตร์
ไทยวน , เชียงแสน , ล้านนา , ราชบุรี , มหาวงศ์ , พงศาวดารเมืองลังกา

RBR_003_252-261 รวมอยู่ใน “เลขที่ 144 มหาวงศ์ อักษรธรรมล้านนา ภาษาบาลี-ไทยล้านนา ฉบับทองทึบ 10 ผูก” หน้าต้น ระบุ “ฯฯ หน้าต้น มหาวงศ์ ผูกถ้วน ๖ แลเจ้าเหย ฯ ๚ คล่องแล้วตามสบับ” (ตัวเอียงไม่ลงหมึก) / เขียนอักษรไทย ด้วยปากกาลูกลื่นสีแดง “ผูกที่ ๖”และสีน้ำเงิน “มหาวงค์” / เขียนอักษรไทยด้วยปากกาเมจิกสีน้ำเงิน “มะหาวงฺผุก ๖ วัดดอนแจ่ง” ท้ายลาน ระบุ “กริยาอันสังวรรณนาเทศนามหาวงศ์ ผูกถ้วน ๖ ก็สมเร็จเสด็จบรมวลกาลควรเท่านี้เป็นห้อง ๑ ก่อนแล ๚ บริบูรณ์แล ยาม ๕ โมงเช้า เวลาเที่ยง เจ้าข้า อายุ วณฺเณ สุขํ พลํ ดั่งนี้แด่เทอะ” หน้าปลาย ระบุ “ฯ หนัารับปลาย มหาวงศ์ ผูกถ้วย ๖ เจ้าเหย”

RBR003-258 มหาวงศ์ ผูก 7

ธรรมคดี , ประวัติศาสตร์
ไทยวน , เชียงแสน , ล้านนา , ราชบุรี , มหาวงศ์ , พงศาวดารเมืองลังกา

RBR_003_252-261 รวมอยู่ใน “เลขที่ 144 มหาวงศ์ อักษรธรรมล้านนา ภาษาบาลี-ไทยล้านนา ฉบับทองทึบ 10 ผูก” หน้าต้น ระบุ “๚ หน้าต้น มหาวงศ์ ผูกถ้วน ๗ แล เจ้าเหย ตัว[บ่]ใคร่ละเอียดเต็มทีเทอะ” (ตัวเอียงไม่ลงหมึก) ท้ายลาน ระบุ “สุชนปสาทสงฺเวคฺคตฺถายกเต มหาวงฺเสปริจฺเจท อันถ้วนสิบ๙ ชื่อว่า มหาโพธิมนปริจฺเจท อันมีในคัมภีร์มหาวงศ์ปกรณ อัน[อา]จารย์แต่งแปลงไว้เพื่อหื้อบังเกิดประสาทะศรัทธาใสยินดีในศาสนาแล เพื่อบังเกิดสังเวคญาณอันหมายคล่ายในวัฏสงสารแก่โสตุชนสัปปุริสะทั้งหลายก็สมเร็จเสด็จบรมวลเป็นห้องเท่านี้ก่อนและ ๚ บริบูรณ์ ยามแลง เดือน ๙ ออกใหม่ ๕ ค่ำ พร่ำว่าได้[วัน] ๕ ปีวอก ยามนั้นแล เจ้าเหย อายุ วณฺโณ สุขํ พลํ ดั่งนี้แด่เทอะ” หน้าปลาย ระบุ “ฯ หน้ารับปลาย มหาวงศ์ ผูกถ้วน ๗ บริบูรณ์แล้ว ยามกองแลงแล” วันเวลาจารเสร็จ สันนิษฐานว่า ตรงกับวันพฤหัสบดี ขึ้น ๕ ค่ำ เดือนเก้า(๙) ปีวอก หรือวันที่ 19 สิงหาคม พ.ศ.2463

RBR003-259 มหาวงศ์ ผูก 8

ธรรมคดี , ประวัติศาสตร์
ไทยวน , เชียงแสน , ล้านนา , ราชบุรี , มหาวงศ์ , พงศาวดารเมืองลังกา

RBR_003_252-261 รวมอยู่ใน “เลขที่ 144 มหาวงศ์ อักษรธรรมล้านนา ภาษาบาลี-ไทยล้านนา ฉบับทองทึบ 10 ผูก” ท้ายลาน ระบุ “กล่าวห้องมหาวงศ์ ผูกถ้วน ๘ ก็เสด็จแล้วเท่านี้ เป็นห้อง ๑ ก่อนแล ฯ ปริปุณณาแล้ว จลอนว่าผิดเพี้ยนเปลี่ยนอักษรกลอนคำธรรมพระพุทธเจ้า สาธุ ใส่แปลงหื้อทานข้าเจ้าภ่องเทอะ อายุ วณฺโณ สุขํ ดั่งนี้แด่เทอะ” หน้าปลาย ระบุ “ฯฯ หน้าปลาย มหาวงศ์ ผูกถ้วน ๘ บ่ใคร่ละเอียดเต็มทีเนอ คล่องแล้ว” / เขียนอักษรไทย ด้วยปากกาลูกลื่นสีแดง “ผูกที่ ๘” / เขียนอักษรไทยด้วยปากกาเมจิกสีน้ำเงิน “มะหาวงฺผุก ๘ วัดดอนแจ่ง”