RBR_003_305-311 รวมอยู่ใน “เลขที่ ๓๔ ขันธนู ผูก ๑ – ๗ อักษรธรรมล้านนา ภาษาบาลี-ไทยล้านนา ฉบับทองทึบ ๗ ผูก” หน้าต้น ระบุ “ฯ หน้าทับเค้า ขันธนาม ผูก ๒ คันว่า ทุพี่ทุอาวองค์ใดได้เล่าได้เรียน ค่อยพิจารณาดูเทอะ แล้วขออภัยโทษทุกองค์ ค่อยถนี่ถนอมเก็บไว้หื้อดีจิ่มเนอ ผมได้หันมานักแล้ว ผู้ดีก็ดีเหลือล้น ผู้ชั่วก็ขี้บ่ปานแลนา นิพฺพาน ปจฺจโย โหตุ เม อนาคเต กาเลน ธุวํ ธุวํ ฯะ ” / เขียนอักษรไทย ด้วยปากกาลูกลื่นสีน้ำเงิน “ขันธนู ผูก ๒”
หน้าต้น ระบุ “ฯ หน้าต้น ขันธนาม ผูก ๓ คันว่า ทุพี่ทุอาวองค์ใดได้เล่าได้เรียน นิมนต์ค่อยพิจารณาดูเทอะ แล้วขออภัยโทษทุกองค์ ช่วยตระนี่ตระหนอมเก็บไว้หื้อดีจิ่มเนอ ทุพี่ทุอาวเอย ผมได้หันมานัก คำเดียวผู้ดีก็ดีเหลือล้น ผู้ชั่วขี้บ่ปานแลนา นิพฺพาน ปจฺจโย โหตุ เม ธุวํ ธุวํ แก่ข้าแด่เทอะ ข้าเขียนบ่งาม ฯ ” / เขียนอักษรไทย ด้วยปากกาลูกลื่นสีน้ำเงิน “ขันธนู ผูก ๓” ท้ายลาน ระบุ “กล่าวห้อง ขันธนโพธิสัตว์เจ้า ผูกถ้วน ๓ ก็แล้วเป็นห้องเท่านี้ก่อนแล ฯ จตฺตาโร ธมฺมา วฑฺฒนฺติ อายุ วณฺโณ สขํ พลํ นิพฺพาน ปจฺจโย โหตุ เม อนาคเต กาเล ฯะ๛ รัสสภิกขุจันทสุวรรณ อยู่บ้านหัวนา มีศรัทธาสร้างเมื่อ ฯ ศักราชล่วงได้สองพันสี่ร้อยหกสิบสองแลนา ฯะ๛”
RBR_003_305-311 รวมอยู่ใน “เลขที่ ๓๔ ขันธนู ผูก ๑ – ๗ อักษรธรรมล้านนา ภาษาบาลี-ไทยล้านนา ฉบับทองทึบ ๗ ผูก” หน้าต้น ระบุ “ธมฺมฑำอีแภฺ่น ฯ หน้าต้น ขันธนาม ผูก ๔ คันว่า ทุพี่ทุอาวองค์ใดได้เล่าได้เรียน นิมนต์ค่อยพิจารณาดูเทอะ แล้วขออภัยโทษทุกองค์ ช่วยตระนี่ตระหนอมเก็บไว้หื้อดีจิ่มเนอ ทุพี่ทุอาวเอย ผมได้หันมานัก คำเดียว ผู้ดีก็ดีเหลือล้น ผู้ชั่วขี้บ่ปานแลนา นิพฺพาน ปจฺจโย โหตุ เม ธุวํ ธุวํ แก่ข้าแด่เทอะ ข้าเขียนบ่งาม ฯ ” / เขียนอักษรไทย ด้วยปากกาลูกลื่นสีน้ำเงิน “ขันธนู ผูก ๔” ท้ายลาน ระบุ “กริยาอันกล่าวห้อง ขัทธนาม ผูกถ้วน ๔ ก็แล้วเท่านี้ก่อนแล ๚ะ จตฺตาโร ธมฺมา วฑฺฒนฺติ อายุ วณฺโณ สุขํ พลนฺติ นิพฺพาน ปจฺจโย โหตุ เม อนาคเต กาเล ฯฯะ๛ ศักราชล่วงไปได้ สองพันสี่ร้อยหกสิบสอง ฯ ปีมะแม เดือน ๙ แรมสิบค่ำ วันพะหัส ฯฯ” หน้าปลาย ระบุ “หน้าต้น ขันธนแลนายเหยท่านทั้งหลาย”
RBR_003_305-311 รวมอยู่ใน “เลขที่ ๓๔ ขันธนู ผูก ๑ – ๗ อักษรธรรมล้านนา ภาษาบาลี-ไทยล้านนา ฉบับทองทึบ ๗ ผูก” หน้าต้น ระบุ “ฯ หน้าต้น ขันธนาม ผูก ๕ คันว่า ทุพี่ทุอาวองค์ใดได้เล่าได้เรียน นิมนต์ค่อยพิจารณาดูเทอะ แล้วผมขออภัยโทษทุกพระองค์ ช่วยตระนี่ตระหนอมเก็บไว้หื้อดีจิ่มเนอ ทุพี่ทุอาวเอย ผมได้หันมานักแล้ว ผู้ดีก็ดีเหลือล้น ผู้ชั่วขี้บ่ปานแลนายเหย ขอสุข ๓ ประการ มีนิพพานเป็นที่แล ธุวํ ธุวํ อนิจฺจํ อนตฺตา แก่ข้าแด่เทอะ” / เขียนอักษรไทย ด้วยปากกาลูกลื่นสีน้ำเงิน “ขันธนู ผูก ๕” และปากกาเมจิกสีเขียว “จำไว้แน” ท้ายลาน ระบุ “กริยาอันกล่าวขัทธนาม ผูกถ้วน ๕ ก็แล้วเท่านี้ก่อนแล ฯะ๛ จตฺตาโร ธมฺมา วฑฺฒนฺติ อายุ วณฺโณ สุขํ พลํ นิพฺพาน ปจฺจยฺโย โหตุ เม ı ปีมะแม เดือน ๑๐ ขึ้น ๓ ค่ำ วันภะหัส แลนา ฯฯ
RBR_003_305-311 รวมอยู่ใน “เลขที่ ๓๔ ขันธนู ผูก ๑ – ๗ อักษรธรรมล้านนา ภาษาบาลี-ไทยล้านนา ฉบับทองทึบ ๗ ผูก” หน้าต้น ระบุ “ฯ หน้าต้น ขันธนาม ผูก ๖ คันว่า ทุพี่ทุอาวองค์ใดได้เล่าได้เรียน นิมนต์ค่อยพิจารณาดูเทอะ แล้วขออภัยโทษทุกพระองค์ ช่วยตระนี่ตระหนอมเก็บไว้หื้อดีจิ่มเนอ ทุพี่ทุอาวเอย ผมได้หันมานักแล้ว ผู้ดีก็ดีเหลือล้น ผู้ชั่วก็ขี้บ่ปานแลนานายเหย ขอสุข ๓ ประการ มีนิพพานเป็นที่แล้ว ธุวํ ธุวํ แก่ข้าแด่เทอะ บ่ดีสักหน่อยเหมือนปูยาด ฯ” / เขียนอักษรไทย ด้วยปากกาลูกลื่นสีน้ำเงิน “ขันธนู ผูก ๖” ท้ายลาน ระบุ “กริยาอันกล่าวห้อง ขันธนาม ผูกถ้วน ๖ ก็แล้วเท่านี้ ฯ ก่อนแแล แล แล ฯะ นิพฺพาน ปจฺจโย โหตุ เม ฯ อย่าไปด่าข้าเนอ เพราะว่าใจบ่ดี ใบลานก็บ่ใคร่ดีบ่พอแลนา ฯ”
RBR_003_305-311 รวมอยู่ใน “เลขที่ ๓๔ ขันธนู ผูก ๑ – ๗ อักษรธรรมล้านนา ภาษาบาลี-ไทยล้านนา ฉบับทองทึบ ๗ ผูก” หน้าก่อนหน้าต้น เขียนอักษรไทย ด้วยปากกาเมจิกสีน้ำเงิน “ขันธนู ผูก ๗” หน้าต้น ระบุ “ฯ หน้าต้น ขันธนาม ผูก ๗ คันว่า ทุพี่ทุอาวองค์ใดได้เล่าได้เรียน ค่อยพิจารณาดูเทอะ แล้วขออภัยโทษทุกพระองค์ ช่วยตระนี่ตระหนอมเก็บไว้หื้อดีจิ่มเนอ ทุพี่ทุอาวเอย ผมได้หันมานักแล้ว ผู้ดีก็ดีเหลือล้น ผู้ชั่วก็ขี้บ่ปานแลนานายเหย โอ นิพฺพาน ปจฺจโย โหตุ เม อนาคเต กาเลน ฯฯะ๛” / เขียนอักษรไทย ด้วยปากกาลูกลื่นสีน้ำเงิน “ขันธนู ผูก ๗” / เขียนอักษรไทย ด้วยดินสอ “ไม่มีใครจะมาเอาไปให้แก่อะธิบาย” ท้ายลาน ระบุ “ขัทธนชาตกํ นิฏฺฐิตํ ก็สมเร็จเสด็จแล้วบรมวลควรกาลเท่านี้ก่อนแล ฯฯะ จบ ฯฯะ โอ้โห้ จบแล้วแหน่ ฯ จบยามเมื่อฬกาตีห้าโมงค่ำ พร่ำว่าได้วันเสาร์ เดือน ๑๐ แหม ๑๑ ปีมะแม พุทธศักราชล่วงไปได้สองพันสี่ร้อยหกสิบสอง เขียนปางเมื่อมาจำพรรษาอยู่วัดเขาลอยมูลโค ı รัสสภิกขุปุย ไปนำเอาหนังสือลาวมาแต่วัดกวงลาด มาคัดไว้เป็นคำยวนแล้วยังมีศรัทธาทำไปนำเอามาแต่วัดท่งหญ้าคมบางมาม้างไว้ในพระศาสนา ๕ พันวัสสา พร้อมไปด้วยโยมทัง ๒ คือว่า พี่น้องชู่ผู้ชู่คน ข้าผู้เขียน ชื่อว่า จันทสุวรรณ ทำ อยู่บ้านหัวนา ı ขอสุข ๓ ประการ นิพพานเป็นที่แล้ว กับเจ้าของใบลานโยมหลวงอิ่มได้หกผูก ผูก ๗ นี้ ของทุอาวบุตรเพิ่น นิพฺพาน ปจฺจโย โหตุ เม ฯ เขียนบ่ดีสักน้อยเหมือนปูยาดคันนา”
RBR_003_312-317 รวมอยู่ใน “เลขที่ ๓๒ ยโสธรา พิมพา ผูก ๑ – ๖ อักษรธรรมล้านนา ภาษาบาลี-ไทยล้านนา ฉบับทองทึบ, ล่องชาด ไม่มีไม้ประกับ ๖ ผูก” หน้าต้น ระบุ “ยโสธราพิมพา ผูกต้น / หนังสือหนานแจ้งสร้างไว้ในศาสนา ” (ตัวเอียงไม่ลงหมึก) / เขียนอักษรไทย ด้วยปากกาลูกลื่นสีน้ำเงิน “ยะโสธรา ผูก ๑” และ ดินสอ “แลวะ” ท้ายลาน ระบุ “กริยาอันกล่าวยัง ยโสธรา ผูกต้น ก็แล้วเท่านี้ก่อน ๆ แล ๛๛๛๛๛๛ เสด็จแล้วบ่าย ๒ โมงเศษ สะเล็กสะหน้อย” ๛๛๛๛๛๛๛๛ เสด็จแล้วปีมะเมีย เดือนอ้าย วันขึ้น ๕ ค่ำ วัน ๓ หน้าต้น หนานแจ้งสร้างไว้ในศาสนา พระพุทธเจ้า ธรรมเจ้า สังฆเจ้า แลนา ๛๛”
RBR_003_312-317 รวมอยู่ใน “เลขที่ ๓๒ ยโสธรา พิมพา ผูก ๑ – ๖ อักษรธรรมล้านนา ภาษาบาลี-ไทยล้านนา ฉบับทองทึบ, ล่องชาด ไม่มีไม้ประกับ ๖ ผูก” หน้าต้น ระบุ “ı๏ หน้าต้น ยโสธราพิมพา ı แล ผูกถ้วน ๒” / เขียนอักษรไทย ด้วยปากกาลูกลื่นสีน้ำเงิน “ยโสธรา ผูก ๒” ท้ายลาน ระบุ “ยโสธราชาตกํ นิฏฺฐิตํ สํวณฺณนา กริยาอันกล่าวยโสธราพิมพา ผูกถ้วน ๒ ก็สมเร็จแล้วเท่านี้ก่อนแล ๛ เสด็จแล้ว ปีมะเมีย เดือน ๑๒ แรม ๗ ค่ำ วัน ๕ ๛”
RBR_003_312-317 รวมอยู่ใน “เลขที่ ๓๒ ยโสธรา พิมพา ผูก ๑ – ๖ อักษรธรรมล้านนา ภาษาบาลี-ไทยล้านนา ฉบับทองทึบ, ล่องชาด ไม่มีไม้ประกับ ๖ ผูก” หน้าต้น ระบุ “ท ı หน้าต้น ยโสธราพิมพา ı ผูกถ้วน ๓ มีกับกัน ๖ ผูก แลนา ı หนังสือหนานแจ้งสร้างไว้ในศาสนา ı แล / รัสสภิกขุเงิน อยู่บ้านต้นม่วง / เขียนดี ” (ตัวเอียงไม่ลงหมึก) / เขียนอักษรไทย ด้วยปากกาลูกลื่นสีน้ำเงิน “ยะโสธรา ผูก ๓” ท้ายลาน ระบุ “ยโสธราชาตกํ นิฏฺฐิตา กริยาอันกล่าวห้อง ยโสธราพิมพาเถรีภิกขุณี ผูกถ้วน ๓ แล้วเท่านี้ก่อนแล ฯ เสด็จแล้ววัน ๕ เดือน ๑๒ ศีล ปีมะเมียแล หนังสือหนานแจ้ง บ้านหัวนา สร้างไว้ในศาสนาพระพุทธเจ้า พระธรรมเจ้า พระพสังฆเจ้า ıı หน้าต้น พิมพา ıı”