RBR003-276 พุทธวงศ์ ผูก 15

รหัสเอกสาร :
RBR003-276
ชื่อเรื่อง :
พุทธวงศ์ ผูก 15
หัวเรื่อง :
ตัวอักษร :
ภาษา :
ศมส. ยินยอมให้ผู้ใช้คัดลอก แจกจ่าย จัดแสดง และเผยแพร่ข้อมูล โดยต้องอ้างอิง ศมส. ซึ่งเป็นแหล่งที่มาของข้อมูล ห้ามนำไปใช้เพื่อการค้า และห้ามดัดแปลงใดๆ
ประเภท :
เส้นตัวอักษร :
ขนาด :
4.5 x 56 x 1.6 เซนติเมตร
จำนวนหน้า :
75 หน้า
จำนวนบรรทัด :
4 บรรทัด
คำประพันธ์ :
แหล่งข้อมูล :
สิทธิ์ :
ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน)

RBR_003_262-276 รวมอยู่ใน “เลขที่ 104 พุทธวงศ์ อักษรธรรมล้านนา ภาษาบาลี-ไทยล้านนา ฉบับทองทึบ 15 ผูก หน้าต้น ระบุ “หน้าปลาย มหาพุทธวงศ์ ผูก ๑๕ และ เจ้าเหย คล่องแล้ว” หน้ารอง เขียนอักษรธรรมด้วยดินสอ “นิมนต์ท่านดูผูกต้นกับปลาย จำไว้ดี” ท้ายนลาน ระบุ “พุทฺธานุสฺสติกถาสมตฺตา กริยาอันกล่าวจาพุทธานุสสติกรรมฐานอันมีในมหาพุทธวงศปกรณ ก็สมเร็จเสด็จแล้วด้วยประการดั่งกล่าวมานี้แล ฯะ บริบูรณ์แล้ว ยาม ๑ ทุ่ม ปีระกา เดือน ๔ แรม ๖ ค่ำ พร่ำว่าได้วันเสาร์ เจ้าเหย อหํ นาม ชื่อว่า หนานคำ บ้านนาโป่ง หมู่ที่ ๕ ริจนาหื้อปู่ใจ ดงสระแก้ว ยามนั้นแล ะ” หน้าปลาย ระบุ “ฯ หน้าปลาย มหาพุทธวงศ์ ผูก ๑๕ บริบูรณ์ ยาม ๑ ทุ่มแล คล่องแล้ว”

พุทธวงศ์ ผูก 15 (RBR003-276). (2564). สืบค้น 06 กุมภาพันธ์ 2568. จาก ฐานข้อมูลเอกสารโบราณภูมิภาคตะวันตกในประเทศไทย. http://manuscripts.sac.or.th/manuscript-info.php?id=679

พุทธวงศ์ ผูก 15 (RBR003-276). [ออนไลน์]. เข้าถึงจาก : http://manuscripts.sac.or.th/manuscript-info.php?id=679. (วันที่ค้นข้อมูล : 06 กุมภาพันธ์ 2568)

พุทธวงศ์ ผูก 15 (RBR003-276). สืบค้นเมื่อ 06 กุมภาพันธ์ 2568. http://manuscripts.sac.or.th/manuscript-info.php?id=679