เอกสารโบราณ

ตัวอักษร : ธรรมล้านนา

พบผลลัพธ์ทั้งหมด 353 รายการ (40 หน้า)

RBR003-315 ยโสธราพิมพา ผูก 4

ธรรมคดี
ไทยวน , เชียงแสน , ล้านนา , ราชบุรี , ยโสธราพิมพา ,

RBR_003_312-317 รวมอยู่ใน “เลขที่ ๓๒ ยโสธรา พิมพา ผูก ๑ – ๖ อักษรธรรมล้านนา ภาษาบาลี-ไทยล้านนา ฉบับทองทึบ, ล่องชาด ไม่มีไม้ประกับ ๖ ผูก” หน้าต้น ระบุ “ยโสธราพิมพา ผูก ๔ มี ๖ ผูก” / เขียนอักษรไทย ด้วยปากกาลูกลื่นสีแดง “ยะโสทะลา แบบที่ ๔ พ:ศ ๒๔๕๙ ๓” และเขียนอักษรขอมไทย ด้วยปากกาลูกลื่นสีแดง “ยโสทฺธลา แบฺบทฺธี ๔ ฯฯ” ท้ายลาน ระบุ “ยโสธราชาตกํ นิฏฺฐิตํ กริยาอันกล่าว ยโสธรา ผูก ๔ ก็สมเร็จเสด็จแล้วเท่านี้ก่อนแล ๛ เสด็จแล้วยามเย็นตาวันตกแล้วนา / ยโสธราพิมพา ผูก ๔ ı ๔ ๛ มีซาว๑๙ ใบทั้งนี้ ๛” (ตัวเอียง จารเป็นตัวเลขไทย)

RBR003-316 ยโสธราพิมพา ผูก 5

ธรรมคดี
ไทยวน , เชียงแสน , ล้านนา , ราชบุรี , ยโสธราพิมพา ,

RBR_003_312-317 รวมอยู่ใน “เลขที่ ๓๒ ยโสธรา พิมพา ผูก ๑ – ๖ อักษรธรรมล้านนา ภาษาบาลี-ไทยล้านนา ฉบับทองทึบ, ล่องชาด ไม่มีไม้ประกับ ๖ ผูก” หน้าต้น ระบุ “ยโสธราพิมพา ı ผูก ๕” / เขียนอักษรไทย ด้วยปากกาลูกลื่นสีน้ำเงิน “ยะโสธรา ผูก ๕” ท้ายลาน ระบุ “ยโสธรา นิฏฺฐิตา ก็สมเร็จเท่านี้ก่อนและ ๛ ผูก ๕ ยโสธราพิมพาภิกขุณี ๛ มี ๑๘ ใบ”

RBR003-317 ยโสธราพิมพา ผูก 6

ธรรมคดี
ไทยวน , เชียงแสน , ล้านนา , ราชบุรี , ยโสธราพิมพา ,

RBR_003_312-317 รวมอยู่ใน “เลขที่ ๓๒ ยโสธรา พิมพา ผูก ๑ – ๖ อักษรธรรมล้านนา ภาษาบาลี-ไทยล้านนา ฉบับทองทึบ, ล่องชาด ไม่มีไม้ประกับ ๖ ผูก” หน้าต้น ระบุ “๏ หน้าต้น ยโสธราพิมพา ผูกถ้วน ๖ แล มี ๖ ผูกกับกันแลขอ” / เขียนอักษรไทย ด้วยปากกาลูกลื่นสีน้ำเงิน “ยะโสธรา ผูก ๖” ท้ายลาน ระบุ “เทสนายโสธรปรินิพฺพานวตฺถุํ นิฏฺฐิตํ กริยาอันสังวรรณนาแก้ไขยังห้อง ยโสธราปรินิพพาน ก็สมเร็จเสด็จบรมวลเท่านี้ก่อนแล ı สุทินฺนํ วตฺตเม ทานํ / ร อรฺิยเมตฺเตยฺย์ สพฺพญูตญาณ อรหนฺตามคฺคญาณํ ทินฺนํ นิพฺพาน ปจฺจโย โหตุ เม ı หนังสือหนานแจ้ง สร้างไว้ค้ำในพระศาสนา ı แลนา”

RBR003-318 พุทธตำนาน

ธรรมคดี
ไทยวน , เชียงแสน , ล้านนา , ราชบุรี , พุทธตำนาน , ธรรมคดี

หน้าต้น ระบุ “หน้าทับเค้า พุทธตำนาน” ท้ายลาน ระบุ “กล่าวห้องยังคำสอนแห่งพระยาอินทร์เจ้าฟ้าบอกไว้แก่คนทั้งหลายก็[บัง]คมเร็จเสด็จบรมวลควรกาลเท่านี้ก่อนแล วันพุธ เขียนตัวบ่ดีสักน้อย ขอกุศลนาบุญ”

RBR003-319 พุทธโฆษะเถระ ผูก 2

ธรรมคดี
ไทยวน , เชียงแสน , ล้านนา , ราชบุรี , พุทธโฆษ

หน้าต้น ระบุ “๚ พุทธโฆสกเถร ผูกถ้วน ๒ แลนายเหย ıı ข้อยเขียนลางตัวก็ใหญ่เท่ากินค่อย (กิ่งก้อย?) ลางตัวก็น้อยเท่าหัวแม่มือ แลนายเหย” / เขียนอักษรไทย ด้วยปากกาลูกลื่นสีน้ำเงิน “๒” หน้าแรก หัวลาน ระบุ “พุทธโฆสเถร ผูก ๒ แลนายเหย อ้ายน้อยธัศ” ท้ายลาน ระบุ “กริยาอันมากล่าวยังพุทธโฆสเถร ผูกถ้วน ก็สมเร็จเสด็จ ıı ıı บัวระมวล กาลก็ควรแล้วเท่านี้ก่อนแลฯฯะ๛”

RBR003-321 พุทธโฆษะเถระ ผูก 4

ธรรมคดี
ไทยวน , เชียงแสน , ล้านนา , ราชบุรี , พุทธโฆษ

ใบแรก เขียนอักษรไทย ด้วยปากกาลูกลื่นสีแดง “พุทธโฆ ผูก ๔” หน้าต้น ระบุ “ ๏ı หน้าเค้า พุทธโฆสเถร ผูกถ้วน ๔ แลนายเหย” / “หน้าต้น หน้าเค้า หน้าปลาย หน้ายอด ชื่อว่า พุทธโฆสเถร แลนายเหย นายฅรวะ เขียนเมื่ออยู่วัดแดงจอน แลนายเหย” ลานแรก หัวลาน ระบุ “พุทธโฆสเถร ıı ผูกถ้วน ๔ แล ıı” ท้ายลาน ระบุ “ปริเจทธรรมเทศนาอันถ้วน ๔ ก็สมเร็จเสด็จบัวระมวลกาลเท่านี้ก่อนแล ฯฯ๛”

RBR003-322 พุทธโฆษะเถระ ผูก 5

ธรรมคดี
ไทยวน , เชียงแสน , ล้านนา , ราชบุรี , พุทธโฆษ

หน้าต้น ระบุ “พุทธโฆสเถร ผูกถ้วน ๕” / เขียนอักษรไทย ด้วยปากกาลูกลื่นสีน้ำเงิน “ประวัติพระพุทธโฆสะ ผูก ๕” ท้ายลาน ระบุ “พุทฺธโฆสเถรํ นิฏฺฐิตํ กล่าวยังนิทานแห่งเจ้าพุทธโฆสเถร ไปม้างสิงหลภาษาหื้อเป็นมคธภาษาทั้งมวลแล้วก็นำมาตั้งไว้ในชมพูทวีป ก็สมเร็จเสด็จบัวระมวลกาลเท่านี้ก่อนแล ๛๛ จุลศักราชได้ ๑๑๗๗ ตัว ปีดับใค้ เดือน ๑๐ ข้า ข้าเขียนยามเมื่ออยู่สติ (สถิต) สำราญวัดราชภิ ปากล่องหางเกาะ วันนั้นแล บัญญัติว่า กัญจนรัสสภิกขุ ıı๏ เหมือนยุงตีกันแล ะ๛ อักขระบ่สม แลบล้วนเลิงหลายพอแลนา ตัวปลายอยู่ถ้อยเถิงนั้นแล ๛ ” (ตัวเอียงจารขึ้นทีหลัง / ตัวขีดเส้นใต้ ไม่ทราบความหมาย)

RBR003-323 ตำนานพระแก้วดอนเต้า

ธรรมคดี
ไทยวน , เชียงแสน , ล้านนา , ราชบุรี , พระแก้วมรกต , แตงโม , ลำปาง

หน้าต้น ระบุ “หน้าต้น ตำนานวัดพระแก้วดอนเต้า ๛ ๚ หน้าตำนานวัดพระแก้วดอนเต้า ฯะ๛ ๚ พระแก้วบาวร ” / เขียนอักษรไทย ด้วยปากาเมจิกสีน้ำเงิน “วัดแคทราย ต.คูบัว อ.เมือง ราชบุรี” และปากกาลูกลื่นสีน้ำเงิน “พระแก้วดอนเต้ามีผูกเดียว” ท้ายลาน ระบุ “กริยาอันกล่าวยัง ตำนานนิทานวัดพระแก้วดอนเต้าเวียงดินที่เมืองกุกกุฏนคร ก็แล้วเท่านี้ก่อนแล แลจบแล้วเวลาเพลพอดีแลนายเหย จบแล้วว่าได้วัน ๒ ข้าเขียนหนังสือผูกนี้ ข้าขอกุศลนาบุญไปรอดไปเถิงปิตามาดาข้าจิ่ม ขอหื้อข้าทันได้หันหน้าพระอริยะเมตไตรยจิ่มเทอะ หนังสือผูกนี้ ข้าสร้างไปหาพระมารดา ข้าชื่อว่า สมณะอ้น บ้านหนองบัว”

RBR003-324 ตำนานพระธาตุตะกุ้งเกสา 8 เส้น

ธรรมคดี
ไทยวน , เชียงแสน , ล้านนา , ราชบุรี , พระธาตุ , ตะโก้ง , เกสาธาตุ , ชเดากอง , มอญ

RBR_003_324 อยู่ใน “เลขที่ ๑๔๒ ตำนานตะโก้ง อักษรธรรมล้านนา ภาษาบาลี-ไทยล้านนา ฉบับทองทึบ, ล่องชาด ๗ ผูก” หน้าต้น ระบุ “ท ıı๏ หน้าต้น ธาตุตะกุงเกสา ๘ เส้น แลนา หนังสือหนานแจ้ง สร้างไว้ในศาสนา” / เขียนอักษรไทย ด้วยปากกาลูกลื่นสีน้ำเงิน “ตำนานเกษาธาตุ” ท้ายลาน ระบุ “สํวณฺณนา นิฏฺฐิตา กริยาอันกล่าวยังนิทานตำนานพระเกสาธาตุเจ้าทะโคง ก็บังคมสมเร็จเสด็จแล้วเท่านี้ก่อนแล ๛ เสด็จแล้วปีมะเมีย เดือน ๔ ขึ้น ค่ำ ๑ มะคืนแลมี ๒๙ ใบกับกันแล ธาตุตระโคงแล”