ที่มาของชื่อ มโหสถ กล่าวคือ เมื่อแรกเกิดได้ถือแท่งยาออกมา ผู้เป็นบิดาจึงได้นำแท่งยาไปฝนกับหินบดยาแล้วนำมาทาที่หน้าผาก ปรากฏว่าอาการปวดหัวก็หายเป็นปลิดทิ้ง จึงตั้งชื่อบุตรชายว่า มโหสถ ( อ้างอิงจาก https://th.wikipedia.org/wiki/มโหสถชาดก ) เอกสารโบราณไม่ครบฉบับ ชำรุดขาดบางส่วน เนื้อหายังพออ่านได้ แต่ไม่ปะติดปะต่อ
วรรณคดีไม่ทราบชื่อเรื่อง ขึ้นต้นด้วยบทไหว้ครูของนายทอง และมีตัวละครชื่อ ขรัวสา และเณรจัน
สมุดไทยดำฉบับนี้ชำรุด ขาดหายไปบางส่วน เนื้อเรื่องไม่ปะติดปะต่อกันนัก อีกทั้งในหน้าปลายลายเส้นอักษรค่อนข้างจาง ทำให้อ่านยาก แต่ตัวอักษรสวย โดยสมุดไทยดำเป็นวรรณคดี ประเภทร้อยกรอง กล่าวถึง วิเซียและคุณหญิงใหญ่ผู้เป็นภรรยา กำลังปรับทุกข์กันเรื่องลูกชายไปฉุดคร่าหญิงสาว หมายเหตุ สมุดไทยฉบับนี้สันนิษฐานว่า เป็นฉบับเดียวกับ BKK001-003 วรรณคดี โดยฉบับนี้จะเป็นส่วนท้ายของหน้าต้น และมีเขียนกำกับว่าเป็นหน้าปลายด้วย
สมุดไทยดำฉบับนี้ชำรุด ขาดหายไปบางส่วน เนื้อเรื่องไม่ปะติดปะต่อกันนัก อีกทั้งในหน้าปลายลายเส้นอักษรค่อนข้างจาง ทำให้อ่านยาก แต่ตัวอักษรสวย โดยสมุดไทยดำเป็นวรรณคดี ประเภทร้อยกรอง กล่าวถึง วิเซียและคุณหญิงใหญ่ผู้เป็นภรรยา กำลังปรับทุกข์กันเรื่องลูกชายไปฉุดคร่าหญิงสาว
ตำรายารักษาอาการต่างๆ เช่น ยาแก้ริดสีดวงไรฟัน ยาแก้ริดสีดวงจมูก ยาแก้ลมจุกเสียด ยาแก้ลมวิงเวียน ยาแก้ลมอัมพฤกษ์ แก้เสลด แก้ไข้รากสาด สันนิบาต เป็นต้น ทะเบียนของหอจดหมายเหตุสาธารณสุขแห่งชาติ คือ (23) สบ. 23.1.4/8 นายทองอ่อน สิทธิไกรพงษ์ได้มอบให้หอจดหมายเหตุสาธารณสุขแห่งชาติเก็บรักษา
ทะเบียนของหอจดหมายเหตุสาธารณสุขแห่งชาติ (23) สบ. 23.1.4/2 นายทองอ่อน สิทธิไกรพงษ์ได้มอบให้หอจดหมายเหตุสาธารณสุขแห่งชาติเก็บรักษา
ทะเบียนของหอจดหมายเหตุสาธารณสุขแห่งชาติ คือ (23) สบ. 23.1.4/4 นายทองอ่อน สิทธิไกรพงษ์ได้มอบให้หอจดหมายเหตุสาธารณสุขแห่งชาติเก็บรักษา
ใบลานสุดรองสุดท้าย ระบุวันเวลา “วัน ๕ เดือน ๙ จุลศักราช ๑๕๗ ปีมะแม” คาดว่าน่าจะเป็น จ.ศ. 1157 แปลงเป็น พ.ศ. 2338 รัชกาลพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช (รัชกาลที่ 1) ทะเบียนของหอจดหมายเหตุสาธารณสุขแห่งชาติ คือ (23) สบ. 23.1.4/3 นายทองอ่อน สิทธิไกรพงษ์ได้มอบให้หอจดหมายเหตุสาธารณสุขแห่งชาติเก็บรักษา
คัมภีร์ว่าด้วยทุรวาษา 4 ประการ อาทิ มุตกิต โทสันทะฆาต ตรีสันทฆาต ทะเบียนของหอจดหมายเหตุสาธารณสุขแห่งชาติ คือ (23) สบ. 23.1.4/9 นายทองอ่อน สิทธิไกรพงษ์ได้มอบให้หอจดหมายเหตุสาธารณสุขแห่งชาติเก็บรักษา