RBR_003_252-261 รวมอยู่ใน “เลขที่ 144 มหาวงศ์ อักษรธรรมล้านนา ภาษาบาลี-ไทยล้านนา ฉบับทองทึบ 10 ผูก” หน้าต้น ระบุ “๚ หน้าต้น มหาวงศ์ ผูกถ้วน ๗ แล เจ้าเหย ตัว[บ่]ใคร่ละเอียดเต็มทีเทอะ” (ตัวเอียงไม่ลงหมึก) ท้ายลาน ระบุ “สุชนปสาทสงฺเวคฺคตฺถายกเต มหาวงฺเสปริจฺเจท อันถ้วนสิบ๙ ชื่อว่า มหาโพธิมนปริจฺเจท อันมีในคัมภีร์มหาวงศ์ปกรณ อัน[อา]จารย์แต่งแปลงไว้เพื่อหื้อบังเกิดประสาทะศรัทธาใสยินดีในศาสนาแล เพื่อบังเกิดสังเวคญาณอันหมายคล่ายในวัฏสงสารแก่โสตุชนสัปปุริสะทั้งหลายก็สมเร็จเสด็จบรมวลเป็นห้องเท่านี้ก่อนและ ๚ บริบูรณ์ ยามแลง เดือน ๙ ออกใหม่ ๕ ค่ำ พร่ำว่าได้[วัน] ๕ ปีวอก ยามนั้นแล เจ้าเหย อายุ วณฺโณ สุขํ พลํ ดั่งนี้แด่เทอะ” หน้าปลาย ระบุ “ฯ หน้ารับปลาย มหาวงศ์ ผูกถ้วน ๗ บริบูรณ์แล้ว ยามกองแลงแล” วันเวลาจารเสร็จ สันนิษฐานว่า ตรงกับวันพฤหัสบดี ขึ้น ๕ ค่ำ เดือนเก้า(๙) ปีวอก หรือวันที่ 19 สิงหาคม พ.ศ.2463
มหาวงศ์ ผูก 7 (RBR003-258). (2564). สืบค้น 06 กุมภาพันธ์ 2568. จาก ฐานข้อมูลเอกสารโบราณภูมิภาคตะวันตกในประเทศไทย. http://manuscripts.sac.or.th/manuscript-info.php?id=661
มหาวงศ์ ผูก 7 (RBR003-258). [ออนไลน์]. เข้าถึงจาก : http://manuscripts.sac.or.th/manuscript-info.php?id=661. (วันที่ค้นข้อมูล : 06 กุมภาพันธ์ 2568)
มหาวงศ์ ผูก 7 (RBR003-258). สืบค้นเมื่อ 06 กุมภาพันธ์ 2568. http://manuscripts.sac.or.th/manuscript-info.php?id=661