เอกสารโบราณ

หัวเรื่อง : ตำราโหราศาสตร์

พบผลลัพธ์ทั้งหมด 143 รายการ (16 หน้า)

NPH001-037 การตั้งเครื่องกริยาบูชาเคราะห์

ตำราโหราศาสตร์ , ประเพณีและพิธีกรรม
หอจดหมายเหตุสาธารณสุขแห่งชาติ , ทองอ่อน สิทธิไกรพงษ์ , เอกสารโบราณ , หมอยา

ใบลานมี 2 ขนาด สันนิษฐานว่าน่าจะคละจากผูกอื่นปนกัน ทะเบียนของหอจดหมายเหตุสาธารณสุขแห่งชาติ คือ (23) สบ. 23.1.4/37 นายทองอ่อน สิทธิไกรพงษ์ได้มอบให้หอจดหมายเหตุสาธารณสุขแห่งชาติเก็บรักษา

NPH001-036 สู่ขวัญข้าวในเล้า

ตำราโหราศาสตร์ , ประเพณีและพิธีกรรม
หอจดหมายเหตุสาธารณสุขแห่งชาติ , ทองอ่อน สิทธิไกรพงษ์ , เอกสารโบราณ , หมอยา

พิธีกรรมนี้เกิดจากความเชื่อว่าเจ้าแม่โพสพตกใจขวัญหนืดอนที่ชาวนานวดข้าว ต้องใช้วัวควายย่ำฟ่อนข้าวเพื่อให้เมล็ดข้าวเปลือกหลุดออกจากรวงข้าว หรือใช้ไม้พันกับฟ้อนข้าวแล้วฟาดลงไปบนลานข้าว เพื่อให้เมล็ดข้าวหลุดจากรวง ซึ่งเป็นการกระทำที่ทารุณต่อขวัญข้าว ฉะนั้นจึงต้องทำพิธีเรียกขวัญข้าวให้กลับมาอยู่กับเมล็ดข้าว หรือเพื่อเป็นการขอขมาเจ้าแม่โพสพ และร้องขอวิงวอนให้มาอยู่คุ้มครองเมล็ดข้าวเปลือกในยุ้งข้าวต่อไป คำสู่ขวัญบางสำนวนอาจจะกล่าวถึงเทพยดา ให้ช่วยมาคุ้มครองให้ข้าวในยุ้งเพิ่มพูนทวีขึ้นก็มี การกำหนดวันพิธี ไม่เคร่งครัดนัก แต่ชาวอีสานมีความเชื่อว่า วันอาทิตย์เป็นวันเกิดของเจ้าแม่โพสพ จึงมักจะประกอบพิธีทำขวัญยุ้งข้าวหรือ บุญข้าวขึ้นเล้า ในวันอาทิตย์ ส่วนสถานที่ทำพิธีนั้นมักจะทำที่ลานหน้ายุ้งฉางหรือในฉางข้าว ทะเบียนของหอจดหมายเหตุสาธารณสุขแห่งชาติ คือ (23) สบ. 23.1.4/36 นายทองอ่อน สิทธิไกรพงษ์ได้มอบให้หอจดหมายเหตุสาธารณสุขแห่งชาติเก็บรักษา ข้อมูลอ้างอิง “ข้าวขึ้นเล้า, บุญ.” สารานุกรมวัฒนธรรมไทย ภาคอีสาน เล่ม 2. กรุงเทพฯ: มูลนิธิสารานุกรมวัฒนธรรมไทย ธนาคารไทยพาณิชย์, 2542: 502-503.

NPH001-070 บาลีนาค (บายศรีนาค)

ตำราโหราศาสตร์
หอจดหมายเหตุสาธารณสุขแห่งชาติ , ทองอ่อน สิทธิไกรพงษ์ , เอกสารโบราณ , หมอยา , สู่ขวัญ , เชิญขวัญ , พิธีกรรม , บายศรี , นาค

ทะเบียนของหอจดหมายเหตุสาธารณสุขแห่งชาติ คือ (23) สบ. 23.1.4/70 นายทองอ่อน สิทธิไกรพงษ์ได้มอบให้หอจดหมายเหตุสาธารณสุขแห่งชาติเก็บรักษา

NPH001-069 บาลีนาค (ทำขวัญนาค)

ตำราโหราศาสตร์
หอจดหมายเหตุสาธารณสุขแห่งชาติ , ทองอ่อน สิทธิไกรพงษ์ , เอกสารโบราณ , หมอยา , สู่ขวัญ , เชิญขวัญ , พิธีกรรม

ทะเบียนของหอจดหมายเหตุสาธารณสุขแห่งชาติ คือ (23) สบ. 23.1.4/69 นายทองอ่อน สิทธิไกรพงษ์ได้มอบให้หอจดหมายเหตุสาธารณสุขแห่งชาติเก็บรักษา

NPH001-042 คัมภีร์ป่าวเทพยดา

ตำราโหราศาสตร์
หอจดหมายเหตุสาธารณสุขแห่งชาติ , ทองอ่อน สิทธิไกรพงษ์ , เอกสารโบราณ , หมอยา , เชิญเทวดา , เทวดา

ป่าวเทวดา คือ คำประกาศเชิญเทวดามาชุมนุมในพิธีกรรม ซึ่งเป็นธรรมเนียมของชาวพุทธที่กระทำกิจพิธีมงคลหรือพิธีกรรมอื่น ๆ เช่น สะเดาะเคราะห์ เจ้าพิธี (ได้แก่ พระสงฆ์ หรือ เจ้าพิธี) จะกล่าวประกาศอัญเชิญเทพเจ้าเทวดาในสากลพิภพมาร่วมพิธีกรรมนั้นด้วย ดังที่ชาวภาคกลางจะใช้คาถาชุมนุมเทวดา ที่เรียกว่า “สัคเค กาเม จ รูเป …ฯลฯ” เมื่อประกาศเชิญเทพชุมนุมแล้วจึงเริ่มพิธีกรรมนั้น ๆ ต่อไป ทะเบียนของหอจดหมายเหตุสาธารณสุขแห่งชาติ คือ (23) สบ. 23.1.4/42 นายทองอ่อน สิทธิไกรพงษ์ได้มอบให้หอจดหมายเหตุสาธารณสุขแห่งชาติเก็บรักษา ข้อมูลอ้างอิง ธวัช ปุณโณทก. “ป่าวเทวดา, คำ : บทสวด.” สารานุกรมวัฒนธรรมไทย ภาคอีสาน เล่ม 8. กรุงเทพฯ: มูลนิธิสารานุกรมวัฒนธรรมไทย ธนาคารไทยพาณิชย์, 2542: 2666-2668.

SAC002-005 ตำราไสยศาสตร์และตำราโหราศาสตร์

ตำราโหราศาสตร์ , ตำราไสยศาสตร์
เอกสารโบราณ , สมุดไทย , ไสยศาสตร์ , โหราศาสตร์ , ขอมไทย , ไทย , บาลี

หน้าต้นกล่าวถึง ยันต์และคาถาต่างๆ เช่น ยันต์เต่าถบตีนเสา เป็นต้น หน้าปลายเกี่ยวกับเรื่องโหราศาสตร์ การทำนายเรื่องปริมาณน้ำกับการทำนา ทำไร่ จากนั้นเขียนด้วยลักษณะคล้ายจดบันทึกเรื่องที่สนใจ และบางส่วนเอกสารเขียนกลับหัว

NPT010-011 ตำรายันต์และกฎหมาย

กฎหมาย , ตำราโหราศาสตร์
วัดสำโรง , นครปฐม , ยันต์ , กฎหมาย , ตำรายา , สมุนไพร , รักษาโรค

การทำสำเนาดิจิทัลเอกสารโบราณฉบับนี้ ฐานข้อมูลเอกสารโบราณฯ จะถ่ายเรียงหน้าแบบตัวต้นฉบับสมุดไทย เพื่อให้ผู้ใช้ได้เห็นถึงสภาพของตัวเอกสารและการเขียนจริงๆ ของเอกสารโบราณเล่มนั้นๆ เสมือนกัทบผู้อ่านได้เปิดดูจากตัวเล่มสมุดไทย จึงไม่ได้มีการกลับภาพเอกสารโบราณ

NPT010-008 ตำรายาครูคง

ตำราโหราศาสตร์ , ตำราเวชศาสตร์
NPT010-008 , ตำรา , ตำรายา , เวชศาสตร์ , โหราศาสตร์ , ทำนายราศี

เอกสารโบราณฉบับนี้ ตอนต้นกล่าวถึงตำรายา เช่น ยาแก้ไข้ ซึ่งมีเพียงไม่กี่หน้า จากนั้นกล่าวถึงการดูลักษณะของคน วันมงคล เป็นต้น เอกสารโบราณฉบับนี้มีหลายลายมือ ทั้งลายมือแบบบรรจง ลายมือหวัด ตัวอักษรทั้งเล็กและใหญ่ ส่วนลายเส้น ทั้งเส้นหมึกดำ หมึกน้ำเงิน และดินสอ