เอกสารโบราณ

หัวเรื่อง : ตำราโหราศาสตร์

พบผลลัพธ์ทั้งหมด 143 รายการ (16 หน้า)

NPH001-077 ทำขวัญเจ้านาค

ตำราโหราศาสตร์ , พุทธศาสนา
หอจดหมายเหตุสาธารณสุขแห่งชาติ , ทองอ่อน สิทธิไกรพงษ์ , เอกสารโบราณ , หมอยา , สู่ขวัญ , เชิญขวัญ , พิธีกรรม

ทะเบียนของหอจดหมายเหตุสาธารณสุขแห่งชาติ คือ (23) สบ. 23.1.4/77 นายทองอ่อน สิทธิไกรพงษ์ได้มอบให้หอจดหมายเหตุสาธารณสุขแห่งชาติเก็บรักษา

NPH001-072 ป่าวเทพดาราธนาสังภาษและถวายข้าวทาน

ตำราโหราศาสตร์ , ประเพณีและพิธีกรรม , พุทธศาสนา
หอจดหมายเหตุสาธารณสุขแห่งชาติ , ทองอ่อน สิทธิไกรพงษ์ , เอกสารโบราณ , หมอยา , ป่าวเทวดา , ถวายทาน , ทาน , ตาน

ป่าวเทวดา คือ คำประกาศเชิญเทวดามาชุมนุมในพิธีกรรม ซึ่งเป็นธรรมเนียมของชาวพุทธที่กระทำกิจพิธีมงคลหรือพิธีกรรมอื่น ๆ เช่น สะเดาะเคราะห์ เจ้าพิธี (ได้แก่ พระสงฆ์ หรือ เจ้าพิธี) จะกล่าวประกาศอัญเชิญเทพเจ้าเทวดาในสากลพิภพมาร่วมพิธีกรรมนั้นด้วย ดังที่ชาวภาคกลางจะใช้คาถาชุมนุมเทวดา ที่เรียกว่า “สัคเค กาเม จ รูเป …ฯลฯ” เมื่อประกาศเชิญเทพชุมนุมแล้วจึงเริ่มพิธีกรรมนั้น ๆ ต่อไป (ข้อมูลอ้างอิง : ธวัช ปุณโณทก. “ป่าวเทวดา, คำ : บทสวด.” สารานุกรมวัฒนธรรมไทย ภาคอีสาน เล่ม 8. กรุงเทพฯ: มูลนิธิสารานุกรมวัฒนธรรมไทย ธนาคารไทยพาณิชย์, 2542: 2666-2668.) ทะเบียนของหอจดหมายเหตุสาธารณสุขแห่งชาติ คือ (23) สบ. 23.1.4/72 นายทองอ่อน สิทธิไกรพงษ์ได้มอบให้หอจดหมายเหตุสาธารณสุขแห่งชาติเก็บรักษา หมายเหตุ ใบลานมาจากคนละผูก ชำรุดขาดแหว่ง 2 ใบ

NPH001-047 คัมภีร์เสียเคราะห์

ตำราโหราศาสตร์ , ประเพณีและพิธีกรรม
หอจดหมายเหตุสาธารณสุขแห่งชาติ , ทองอ่อน สิทธิไกรพงษ์ , เอกสารโบราณ , หมอยา , สะเดาะเคราะห์ , แก้เคราะห์ , โชคร้าย ,

เสียเคราะห์ คือพิธีสะเดาะเคราะห์ ซึ่งชาวอีสานส่วนใหญ่เชื่อว่า อำนาจเหนือธรรมชาติมีอิทธิพลต่อชีวิตของมนุษย์โดยเฉพาะบุคคลที่เจ็บไข้ได้ป่วยอยู่เนืองๆ นั้นเพราะถูกอำนาจเหนือธรรมชาติกระทำ หรือถูกสิ่งที่ชั่วร้ายเข้าสิงในร่างกายทำให้บุคคลผู้นั้นทำกินไม่ขึ้นหรือไม่เจริญก้าวหน้า ฉะนั้นจำเป็นจะต้องปัดเป่าสิ่งชั่วร้ายเหล่านี้ออกไป ทะเบียนของหอจดหมายเหตุสาธารณสุขแห่งชาติ คือ (23) สบ. 23.1.4/47 นายทองอ่อน สิทธิไกรพงษ์ได้มอบให้หอจดหมายเหตุสาธารณสุขแห่งชาติเก็บรักษา หมายเหตุ ใบลานฉบับนี้ลายมือไม่เหมือนกัน คาดว่ามาจากคนละฉบับ ข้อมูลอ้างอิง ธวัช ปุณโณทก. “เสียเคราะห์ 2 : พิธีกรรม.” สารานุกรมวัฒนธรรมไทย ภาคอีสาน เล่ม 14. กรุงเทพฯ: มูลนิธิสารานุกรมวัฒนธรรมไทย ธนาคารไทยพาณิชย์, 2542: 4847-4848.

NPH001-051 คัมภีร์เสียเคราะห์ (คายขันธ์ 5)

ตำราโหราศาสตร์ , ประเพณีและพิธีกรรม
หอจดหมายเหตุสาธารณสุขแห่งชาติ , ทองอ่อน สิทธิไกรพงษ์ , เอกสารโบราณ , หมอยา

เสียเคราะห์ คือพิธีสะเดาะเคราะห์ ซึ่งชาวอีสานส่วนใหญ่เชื่อว่า อำนาจเหนือธรรมชาติมีอิทธิพลต่อชีวิตของมนุษย์โดยเฉพาะบุคคลที่เจ็บไข้ได้ป่วยอยู่เนืองๆ นั้นเพราะถูกอำนาจเหนือธรรมชาติกระทำ หรือถูกสิ่งที่ชั่วร้ายเข้าสิงในร่างกายทำให้บุคคลผู้นั้นทำกินไม่ขึ้นหรือไม่เจริญก้าวหน้า ฉะนั้นจำเป็นจะต้องปัดเป่าสิ่งชั่วร้ายเหล่านี้ออกไป ทะเบียนของหอจดหมายเหตุสาธารณสุขแห่งชาติ คือ (23) สบ. 23.1.4/51 นายทองอ่อน สิทธิไกรพงษ์ได้มอบให้หอจดหมายเหตุสาธารณสุขแห่งชาติเก็บรักษา หมายเหตุ ใบลานฉบับนี้ มาจากคนละฉบับ ข้อมูลอ้างอิง ธวัช ปุณโณทก. “เสียเคราะห์ 2 : พิธีกรรม.” สารานุกรมวัฒนธรรมไทย ภาคอีสาน เล่ม 14. กรุงเทพฯ: มูลนิธิสารานุกรมวัฒนธรรมไทย ธนาคารไทยพาณิชย์, 2542: 4847-4848.

NPH001-053 คัมภีร์เอิ้นขวัญ

ตำราโหราศาสตร์ , ประเพณีและพิธีกรรม
หอจดหมายเหตุสาธารณสุขแห่งชาติ , ทองอ่อน สิทธิไกรพงษ์ , เอกสารโบราณ , หมอยา

ขวัญ หรือ ขวน คือสิ่งที่เป็นมิ่งมงคลสถิตอยู่กับชีวิตมนุษย์ สัตว์ พืช รวมทั้งสิ่งของเครื่องใช้ ชาวไทยคงให้ความสำคัญเกี่ยวกับขวัญมาก และมีพิธีกรรมในการเรียกขวัญ ปลอบขวัญอยู่ทุกขั้นตอนของรอบชีวิตหนึ่ง ๆ เช่น สู่ขวัญเด็ก สู่ขวัญนาค สู่ขวัญบ่าวสาว สู่ขวัญคนป่วย เป็นต้น ทะเบียนของหอจดหมายเหตุสาธารณสุขแห่งชาติ คือ (23) สบ. 23.1.4/53 นายทองอ่อน สิทธิไกรพงษ์ได้มอบให้หอจดหมายเหตุสาธารณสุขแห่งชาติเก็บรักษา หมายเหตุ ใบลานมาจากคนละฉบับ ข้อมูลอ้างอิง “สูดขวน (สู่ขวัญ) : พิธีกรรม.” สารานุกรมวัฒนธรรมไทย ภาคอีสาน เล่ม 14. กรุงเทพฯ: มูลนิธิสารานุกรมวัฒนธรรมไทย ธนาคารไทยพาณิชย์, 2542: 4782-4787.

NPH001-054 คัมภีร์เอิ้นขวัญ

ตำราโหราศาสตร์ , ประเพณีและพิธีกรรม
หอจดหมายเหตุสาธารณสุขแห่งชาติ , ทองอ่อน สิทธิไกรพงษ์ , เอกสารโบราณ , หมอยา

ทะเบียนของหอจดหมายเหตุสาธารณสุขแห่งชาติ คือ (23) สบ. 23.1.4/54 นายทองอ่อน สิทธิไกรพงษ์ได้มอบให้หอจดหมายเหตุสาธารณสุขแห่งชาติเก็บรักษา

NPH001-055 คัมภีร์สะเดาะเคราะห์

ตำราโหราศาสตร์ , ประเพณีและพิธีกรรม
หอจดหมายเหตุสาธารณสุขแห่งชาติ , ทองอ่อน สิทธิไกรพงษ์ , เอกสารโบราณ , หมอยา

ใบลานฉบับนี้ไม่ครบฉบับ อังกาเริ่มต้นที่เลขอังกา ๒๔-๔๙ เนื้อเรื่องประกอบด้วย ตำราพรหมชาติ การดูดวงชาตาแบบอีสาน ซึ่งเป็นตาราง เก้าช่อง มีวิธีการนับแบบหญิงชายที่แตกต่างกันไป นอกจากนี้ยังมีเรื่องการบูชาตัวเพิง บูชากำลัง และสะเดาะห์เคราะห์ ทะเบียนของหอจดหมายเหตุสาธารณสุขแห่งชาติ คือ (23) สบ. 23.1.4/55 นายทองอ่อน สิทธิไกรพงษ์ได้มอบให้หอจดหมายเหตุสาธารณสุขแห่งชาติเก็บรักษา

NPH001-056 สู่ขวัญพ่อแก่บูชาพระยาแถน, ตำราพรหมชาติ

ตำราโหราศาสตร์ , ประเพณีและพิธีกรรม
หอจดหมายเหตุสาธารณสุขแห่งชาติ , ทองอ่อน สิทธิไกรพงษ์ , เอกสารโบราณ , หมอยา

แถน พระยาแถน หรือ ผีฟ้าผีแถน เป็นชื่อที่ชาวอีสาน และประชาชนในอาณาจักรล้านช้างใช้เรียก “เทพเจ้า” ผู้สร้างโลก สร้างสรรพสิ่งต่างๆ ในโลก พระยาแถน อาจจะเทียบได้กับเทพเจ้าสำคัญทั้งสามของอินเดีย คือ พระศิวะ พระวิษณุ พระพรหม ทะเบียนของหอจดหมายเหตุสาธารณสุขแห่งชาติ คือ (23) สบ. 23.1.4/56 นายทองอ่อน สิทธิไกรพงษ์ได้มอบให้หอจดหมายเหตุสาธารณสุขแห่งชาติเก็บรักษา ข้อมูลอ้างอิง “แถน, พระยา.” สารานุกรมวัฒนธรรมไทย ภาคอีสาน เล่ม 5. กรุงเทพฯ: มูลนิธิสารานุกรมวัฒนธรรมไทย ธนาคารไทยพาณิชย์, 2542: 1534-1536.

NPH001-066 ตำราสะเดาะห์เคราะห์เจ้าบ้านเจ้าเรือน

ตำราโหราศาสตร์ , ประเพณีและพิธีกรรม
หอจดหมายเหตุสาธารณสุขแห่งชาติ , ทองอ่อน สิทธิไกรพงษ์ , เอกสารโบราณ , หมอยา , สะเดาะเคราะห์ , แก้เคราะห์ , โชคร้าย ,

ทะเบียนของหอจดหมายเหตุสาธารณสุขแห่งชาติ คือ (23) สบ. 23.1.4/66 นายทองอ่อน สิทธิไกรพงษ์ได้มอบให้หอจดหมายเหตุสาธารณสุขแห่งชาติเก็บรักษา