พระมหาโมคคัลลานเถระถามเทพบุตร เทพธิดา ถึงอดีตกรรมที่ส่งผลให้ได้ เกิดในวิมานนั้น ๆ เช่น การทำอัญชลีกรรมต่อท่านผู้มีศีลบ้าง, การถวายทานบ้าง, การรักษาศีลบ้าง, การจุดไฟเพื่อประโยชน์แก่คนไปมาในที่มืดบ้าง, การฟังธรรมบ้าง, การรักษาอุโบสถบ้าง มีคำตอบของผู้ถูกถามเป็นราย ๆ ไป รวม 85 ราย ข้อมูลจาก http://www.larnbuddhism.com/tripitaka/prasuttanta/k18.html
พระมหาโมคคัลลานเถระถามเทพบุตร เทพธิดา ถึงอดีตกรรมที่ส่งผลให้ได้ เกิดในวิมานนั้น ๆ เช่น การทำอัญชลีกรรมต่อท่านผู้มีศีลบ้าง, การถวายทานบ้าง, การรักษาศีลบ้าง, การจุดไฟเพื่อประโยชน์แก่คนไปมาในที่มืดบ้าง, การฟังธรรมบ้าง, การรักษาอุโบสถบ้าง มีคำตอบของผู้ถูกถามเป็นราย ๆ ไป รวม 85 ราย ข้อมูลจาก http://www.larnbuddhism.com/tripitaka/prasuttanta/k18.html
พระมหาโมคคัลลานเถระถามเทพบุตร เทพธิดา ถึงอดีตกรรมที่ส่งผลให้ได้ เกิดในวิมานนั้น ๆ เช่น การทำอัญชลีกรรมต่อท่านผู้มีศีลบ้าง, การถวายทานบ้าง, การรักษาศีลบ้าง, การจุดไฟเพื่อประโยชน์แก่คนไปมาในที่มืดบ้าง, การฟังธรรมบ้าง, การรักษาอุโบสถบ้าง มีคำตอบของผู้ถูกถามเป็นราย ๆ ไป รวม 85 ราย ข้อมูลจาก http://www.larnbuddhism.com/tripitaka/prasuttanta/k18.html
พญานันโทปนันทนาคราช คือ พญานาคที่อาศัยอยู่บนสวรรค์ชั้นจาตุมหาราชิกา มีพลพรรคมากเป็นหนึ่งในสัตว์ในตำนานอ้างอิงของพระพุทธศาสนาตนหนึ่งซึ่งมีมิจฉาทิฏฐิ แต่ภายหลังถูกพระโมคคัลลานะปราบ จึงละมิจฉาทิฏฐิ และนับถือพระพุทธเจ้าเป็นสรณะ
ครั้งหนึ่งพระสารีบุตรได้กล่าวกับภิกษุทั้งหลายในวิหารเวฬุวันว่า “นิพพานนี้เป็นสุข” พระอุทายีตั้งข้อสังกาว่า “นิพพานนี้ไม่มีเวทนา เป็นสุขได้อย่างไร” พระสารีบุตรจึงได้กล่าวว่า “นิพพานไม่มีเวทนานี้แลหะจึงเป็นสุข” พร้อมกับอธิบายถึงสุขที่เกิดขึ้นจากกามสุขทั้ง 5 และอธิบายว่า ถึงแม้ภิกษุที่บรรลุฌานชั้นต่างๆ ตั้งแต่ ปฐมฌานไปจนถึง เนวสัญญานาสัญญาตนฌาน ก็ไม่สามารถปราศจากทุกข์ได้ ต่อเมื่อบรรลุเนวสัญญาสัญญาตนฌานโดยประการทั้งปวง อาสวะทั้งหลายก็สิ้นแล้วเพราะเห็นด้วยปัญญา จึงรู้ว่านิพพานนี้เป็นสุขอย่างไร
ครั้งหนึ่งพระสารีบุตรได้กล่าวกับภิกษุทั้งหลายในวิหารเวฬุวันว่า “นิพพานนี้เป็นสุข” พระอุทายีตั้งข้อสังกาว่า “นิพพานนี้ไม่มีเวทนา เป็นสุขได้อย่างไร” พระสารีบุตรจึงได้กล่าวว่า “นิพพานไม่มีเวทนานี้แลหะจึงเป็นสุข” พร้อมกับอธิบายถึงสุขที่เกิดขึ้นจากกามสุขทั้ง 5 และอธิบายว่า ถึงแม้ภิกษุที่บรรลุฌานชั้นต่างๆ ตั้งแต่ ปฐมฌานไปจนถึง เนวสัญญานาสัญญาตนฌาน ก็ไม่สามารถปราศจากทุกข์ได้ ต่อเมื่อบรรลุเนวสัญญาสัญญาตนฌานโดยประการทั้งปวง อาสวะทั้งหลายก็สิ้นแล้วเพราะเห็นด้วยปัญญา จึงรู้ว่านิพพานนี้เป็นสุขอย่างไร
RBR_003_252-261 รวมอยู่ใน “เลขที่ 144 มหาวงศ์ อักษรธรรมล้านนา ภาษาบาลี-ไทยล้านนา ฉบับทองทึบ 10 ผูก” หน้าต้น ระบุ “ฯ หน้ารับเค้า มหาวงศ์ ผูกถ้วน ๕ มีอยู่สิบผูกด้วยกันแลเจ้าเหย ฯ คล่องแล้ว” (ตัวเอียงไม่ลงหมึก) / เขียนอักษรไทย ด้วยปากกาลูกลื่นสีแดง “ผูกที่ ๕”และสีน้ำเงิน “มหาวงค์” ท้ายลาน ระบุ “สุชนปสาทสงฺเวคตฺถายก มหาวงฺเส ปริจฺเจท อันถ้วน ๑๑ ชื่อ เทวานํ ปิยติสฺสภิเสกปริจฺเจท อันมีในมหาวงศ์อันอาจารย์เจ้าแต่งแปลง เพื่อหื้อบังเกิดยังประสาทะศรัทธาแล บังเกิดสังเวคญาณ สะดุ้งตกใจกลัวในวัฏสงสารแห่ง[โส]ตุชนทั้งหลายก็บรมวลด้วยประการดั่งกล่าวมาเท่านี้ก่อนแล ๚ นิพฺพาน ปจฺจยฺโย โหตุ เม นิจฺจํ ดั่งนี้แก่ข้าแด่เทอะ ๛” หน้าปลาย ระบุ “ฯ หน้าปลาย มหาวงศ์ ผูกถ้วน ๕ มีอยู่สิบผูกแล เจ้าเหย คล่องแล้ว คล่องแล้ว แล้ว แล” / เขียนอักษรไทยด้วยปากกาเมจิกสีน้ำเงิน “มะหาวงฺผุก ๕ วัดดอนแจ่ง”
RBR_003_290-299 รวมอยู่ใน “เลขที่ 15 มหานิบาตทสชาติ (มโหสถ) อักษรธรรมล้านนา ภาษาบาลี-ไทยล้านนา ฉบับทองทึบ 10 ผูก” หน้าต้น ระบุ “๚ หนังสือมโหสถ ผูกหนึ่งแล มีสิบผูกกับกันแลนายเหย อย่าไปหื้อพรากเสียกันเนอ ฯฯ๛ หน้าทับเค้า มโหสถ ผูกต้น ตัวบ่มนสักน้อย ค่อยพิจารณาดูเทอะ ที่ผิดก็มี ที่ถูกก็มี บ่ดีไหนหลาย อย่าไปเสียใจเนอ เจ้าใบลานชู่คนเหย ๚ ๚ ๚ ๚ ๚ ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ ๘ ๙ ๐” / เขียนอักษรไทย ด้วยดินสอ “๑” และปากกาลูกลื่นสีน้ำเงิน “มะโหสด ผูก ๑” ท้ายลาน ระบุ “ปริจเฉทธรรมเทศนามโหสถบัณฑิตอันเป็นปฐมผูกต้น อันพิจารณาถ้อยคำโจรลักงัวเป็นเค้า ตราบต่อเท่าเถิงโตรลักเมีย ก็สมเร็จเสด็จบรมวลเท่านี้ก่อนแล ๚ ๚ รัสสภิกขุธอง เขียนปางเมื่อพื้น (เพิ่น-เพื่อน?) อยู่วัดหนองบักดอแล เสด็จแล้วเดือน ๑๑ ขึ้น ๑๔ ค่ำ พร่ำว่าเป็นวันเสาร์แล ๚ ข้าเขียนหนังสือมโหสถผูกนี้ ข้าขอกุศลนาบุญแผ่ผายไปรอดไปถึงปิตตามารดาข้าจิ่มเทอะ ครูบาอาจารย์กับทั้งเจ้าใบลานพื้น (เพิ่น-เพื่อน?) ชู่ผู้ชู่คนเทอะ ขอหื้อได้เหมือนกันชู่คนแด่เนอ อย่าไปด่าข้าเนอ ลางเทื่อก็ตามืด ลางเทื่อก็ตาดำ ลางเทื่อก็เจ็บหลัง ลางเทื่อก็เจ็บแอว เ[เ]สนเทื่อก็นั่ง เ[เ]สนเทื่อก็นอน เดิกออนซอนมาจะดาปุนอี้ ฟ้าปันหมอนเท่ามืดมัวฟันมาเป็นทุกบ้านเล่า ไกลกันยากแท้เด ปูนอี้ผีเหยผีสังบ่ตีแผ่นดินหื้อไหลหลิ่งค้อย หื้อบ้านค้อยไหลชูนายพร่องเด นายเจ้าแม่ผู้เดียวเหย ๚ ๛ ข้ าผู้เขียนนี้อย่า ปรารถนาเล่าเกิดมาชาติใดแสนใด(ฉันใด)ขอหื้อมีสติปัญญาสลาดอาจรู้ คู่เยื่องพันอันนั้นเนอ เพราะว่าลำบากเหลือห[ล]าย สายสุดใจแม่คันนาถ้วนสมกระบวนนายธานี ๚ ข้าเขียนบ่ดีสักน้อย พอเป็นถ้อยอยู่ ใบลานครูบาอาจารย์เหย อย่าไปด่าข้าเนอ จบแล้ว”
RBR_003_277-289 รวมอยู่ใน “เลขที่ 157 มังคลัตถทีปนี อักษรธรรมล้านนา ภาษาบาลี-ไทยล้านนา ฉบับล่องชาด 13 ผูก” หน้าต้น ระบุ “๏ หน้าทับเค้า มังคลทีปนี ผูกถ้วนสิบ ๑ ปริปุณณา บ่าย ๓ โมงเย็น แล คล่องแล้ว” (ตัวเอียงไม่ลงหมึก) / เขียนอักษรไทย ด้วยปากกาลูกลื่นสีน้ำเงิน “ผูก ๑๑” ท้ายลาน ระบุ “โวหารธรรมเทศนามังคลทีปนี ผูกถ้วนสิบเอ็ด ก็สมเร็จเสด็จแล้ว เท่านี้ก่อนและ บริบูรณ์แล้ว ยามบ่าย ๓ โมงเย็น เจ้าข้า นิจฺจํ ธุวํ แก่ข้า พร่องแด่เทอะ อายุ วณฺโณ สุขํ พลํ นิพฺพานํ ดั่งนี้แท้และ หน้าปลาย ระบุ “ฯ หน้าทับปลาย มังคลทีปนี ผูกถ้วนสิบ ๑ และ คล่องแล้ว”