เอกสารโบราณ

หัวเรื่อง : ธรรมคดี

พบผลลัพธ์ทั้งหมด 816 รายการ (91 หน้า)

SKN001-063 มงคลทีปนี ผูก 13

ธรรมคดี
มอญ , บาลี , ใบลาน , ล่องชาด , วัดเจ็ดริ้ว , สมุทรสาคร , ธรรมคดี , มงคลทีปนี

มังคลัตถทีปนี (มังคละ+อัตถะ+ทีปนี) แปลว่า แสดงเนื้อความของมงคลสูตร บอกให้ทราบถึงสิ่งที่จะยังชีวิตคือสรีรยนต์นี้ให้ถึงความสมบูรณ์หรือถึงความยั่งยืนตามแนวพระพุทธศาสนา มงคลสูตรเกิดขึ้นเมื่อมนุษย์ยังไม่ทราบว่าอะไรแน่ที่เป็นมงคลชีวิต

SKN001-064 มงคลทีปนี ผูก 14

ธรรมคดี
มอญ , บาลี , ใบลาน , ล่องชาด , วัดเจ็ดริ้ว , สมุทรสาคร , ธรรมคดี , มงคลทีปนี

มังคลัตถทีปนี (มังคละ+อัตถะ+ทีปนี) แปลว่า แสดงเนื้อความของมงคลสูตร บอกให้ทราบถึงสิ่งที่จะยังชีวิตคือสรีรยนต์นี้ให้ถึงความสมบูรณ์หรือถึงความยั่งยืนตามแนวพระพุทธศาสนา มงคลสูตรเกิดขึ้นเมื่อมนุษย์ยังไม่ทราบว่าอะไรแน่ที่เป็นมงคลชีวิต

SKN001-061 มงคลทีปนี ผูก 11

ธรรมคดี
มอญ , บาลี , ใบลาน , ล่องชาด , วัดเจ็ดริ้ว , สมุทรสาคร , ธรรมคดี , มงคลทีปนี

มังคลัตถทีปนี (มังคละ+อัตถะ+ทีปนี) แปลว่า แสดงเนื้อความของมงคลสูตร บอกให้ทราบถึงสิ่งที่จะยังชีวิตคือสรีรยนต์นี้ให้ถึงความสมบูรณ์หรือถึงความยั่งยืนตามแนวพระพุทธศาสนา มงคลสูตรเกิดขึ้นเมื่อมนุษย์ยังไม่ทราบว่าอะไรแน่ที่เป็นมงคลชีวิต

RBR003-219 หอยสังข์ ผูก 5

ธรรมคดี
ไทยวน , เชียงแสน , ล้านนา , ราชบุรี , วรรณกรรมพื้นบ้าน , ชาดก , หอยสังข์ , สุวรรณหอยสังข์ , สุวรรณสังข์

RBR_003_216-222 รวมกันอยู่ใน “เลขที่ 35 สุวรรณหอยสังข์ อักษรธรรมล้านนา ภาษาบาลี-ไทยล้านนา ฉบับล่องชาด 7 ผูก” มีไม้บัญชักทำด้วยไม้ไผ่ เขียนอักษรไทยด้วยปากกาเมจิกสีน้ำเงิน “เรื่องหอยสังข์มี 6 ผูก” หน้าทับต้น ระบุ “หน้าทับเค้าสุวรรณหอยสังข์ผูก ๕ มีอยู่หกผูก๛” เขียนอักษรไทยด้วยปากกาลูกลื่นสีน้ำเงิน “หอยสังข์ผูก ๕” ลานแรก ด้านซ้ายมือ ระบุ “เจ้าสุวรรณหอยสังข์ผูก ๕ มี ๕ ผูกกับกัน ฯ บ้านหนองผ้าขาวนามนาโพ ฯ วัดโพธิ” / ด้านหลัง ระบุ “หน้าทับเค้า สุวรรณหอยสังข์ผูก ๕ มีหกผูกกับกันแล” ท้ายลาน ระบุ “สุวณฺณสงฺขราช นิฏฺฐิตา กิริยาอันจายังสุวรรณสังขราชกัณฑ์ถ้วน ๕ ก็เสด็จบอระมาลเท่านี้ก่อนแล ๛ เสด็จแล้ววันเสาร์ ในเพล แลนายเหย || ที่นี้ || รัสสภิกขุอิน อยู่บ้านมะโก มีศรัทธา กับทั้งบิดา คือว่า พ่อ มารดา คือว่า แม่เห่งข้า กับทับพี่อ้ายพี่เอื้อยพร้อมกันมีศรัทธากับผู้ข้าสร้างหนังสือกับนี้ ชื่อว่า เจ้าสุวรรณสังข์ ผูก ๕ เสด็จแล้วปีจอ เดือน ๖ ขึ้น ๔ ค่ำ วัน ๖ ข้านี้หังว่าเขียนบ่งามสักน้อยแท้ใด ลางตัวเหงี่ยงหัวเข้า ลางตัวเหงี่ยงหัวออก คันว่าผิดที่ใด ใส่หื้อข้าเทอะเนอ ๛”

RBR003-228 พระยาสี่เสาร์ ผูก 3

ธรรมคดี
ไทยวน , เชียงแสน , ล้านนา , ราชบุรี , วรรณกรรมพื้นบ้าน , ชาดก , พระยาสี่เสาร์ , โหราศาสตร์

RBR_003_223-233 รวมกันอยู่ใน “เลขที่ ๔๘ พระยาสี่เสา ผูก 1-3 อักษรธรรมล้านนา ภาษาบาลี-ไทยล้านนา ฉบับล่องชาด ทองทึบ 11 ผูก” ไม่มีไม้ประกับ ไม้บัญชักทำด้วยไม้ไผ่ เขียนอักษรไทยด้วยปากกาเมจิกสีน้ำเงิน “พระยาสี่เสา มี 6 ผูก” / RBR_003_226-228 ชุดเดียวกัน ทองทึบ ทองหลุด พื้นชาด หน้าทับต้น ระบุ “พระยาสี่เสา ผูก ๓ อยู่ปลายหมู่” / เขียนอักษรไทยด้วยปากกาลูกลื่นสี่น้ำเงิน “พยาสี่เสาผูก๓” ลานแรก ด้านซ้ายมือ ระบุ “พระยาสี่เสาผูกถ้วน ๒” ท้ายลาน ระบุ “กิริยาอันกล่าวห้องพระยาสี่เสาผูกถ้วน ๓ ก็สมเร็จเสด็จแล้วเท่านี้ก่อนแล ฯ๛ พระยาสี่เสาคัมภีร์นี้มี้มี ๓ ผูกกับกันเท่าอั้นแล ข้าเขียนบ่ดี ลางตัวก็ใหญ่ ลางตัวก็น้อย อย่าไปด่าข้าเนอ เพราะบ่สันทัดแท้ พอเป็นถ้อยอยู่ในใบลาน ข้าสร้างไว้ ขอหื้อนิพพานชาตินี้ชาติหน้า รัสสภิกขุอินทสอน อยู่วัดนองบัว ข้างวัดนา”

RBR003-224 พระยาสี่เสาร์ ผูก 2

ธรรมคดี
ไทยวน , เชียงแสน , ล้านนา , ราชบุรี , วรรณกรรมพื้นบ้าน , ชาดก , พระยาสี่เสาร์ , โหราศาสตร์

RBR_003_223-233 รวมกันอยู่ใน “เลขที่ 48 พระยาสี่เสา ผูก 1-3 อักษรธรรมล้านนา ภาษาบาลี-ไทยล้านนา ฉบับล่องชาด ทองทึบ 11 ผูก” ไม่มีไม้ประกับ ไม้บัญชักทำด้วยไม้ไผ่ เขียนอักษรไทยด้วยปากกาเมจิกสีน้ำเงิน “พระยาสี่เสา มี 6 ผูก” หน้าทับต้น เขียนอักษรไทยด้วยปากกาลูกลื่นสีน้ำเงิน “พญาสี่เส้า ผูกที่ ๒” / ด้านหลัง เขียนอักษรธรรมล้านนาด้วยดินสอดำ “พระยาสีเสาผูก ๒”, “พระยาสีเสา ผูก ๒” ลานแรก ด้านซ้ายมือ ระบุ “ผูกปลายพระยาสี่เสา” ท้ายลาน ระบุ “สํวณฺณนา นิฏฺฐิตา กล่าวห้องพระยาสี่เสา ก็สมเร็จเสด็จแล้วเท่านี้ก่อนแล ⁜ ฯฯ บริบูรณ์เสด็จแล้วเดือน ๙ แรม ๔ ค่ำแลนายเหย ลางตัวก็ใหญ่ ลางตัวก็น้อย ลางตัวก็บิ่นหัวไปตังเหนือ ลางตัวบิ่นหัวไปตังใต้ ตัวไหขึ้นมาแล รัสสภิกขุธรรมสอนพร้อมกับโยมเมาะ โยมอิน ญาติพี่น้องวงศาชู่ผู้ชู่คนเทอะ เอื้อยอ้ายน้องแลนายเหย รัสสภิกขุธรรมสอน อยู่วัดนาหนอง บ้านอยู่ดอนกอกเกาะ ตัวบ่ดีบ่งามสักน้อย พระยาอินทร์ พระยาพรหม พระยายมราชแลนายเหย” หน้าทับปลาย เขียนอักษรไทยด้วยดินสอดำ “ปา อะ กา มุ สุ จิ”

RBR003-223 พระยาสี่เสาร์ ผูก 1

ธรรมคดี
ไทยวน , เชียงแสน , ล้านนา , ราชบุรี , วรรณกรรมพื้นบ้าน , ชาดก , พระยาสี่เสาร์ , โหราศาสตร์

RBR_003_223-233 รวมกันอยู่ใน “เลขที่ 48 พระยาสี่เสา ผูก 1-3 อักษรธรรมล้านนา ภาษาบาลี-ไทยล้านนา ฉบับล่องชาด ทองทึบ 11 ผูก” ไม่มีไม้ประกับ ไม้บัญชักทำด้วยไม้ไผ่ เขียนอักษรไทยด้วยปากกาเมจิกสีน้ำเงิน “พระยาสี่เสา มี 6 ผูก” หน้าทับต้น เขียนอักษรไทยด้วยปากกาลูกลื่นสีดำ “พญาสี่เส้า ผูก ๑ มีกับกัน ๓ ผูก” หน้ารองหน้าทับ เขียนอักษรไทยด้วยปากกาลูกลื่นสีน้ำเงิน “เขียนที่วัดนาหนอง ตำบลดอนแร่” ลานแรก ด้านซ้ายมือ ระบุ “ผูกต้น พระยาสี่เสา” ท้ายลาน ระบุ “สํวณฺณนา นิฏฺฐิตา กล่าวห้องพระยาสี่เสา ผูกต้น ก็บังคมสมเร็จเสด็จแล้วเท่านี้ก่อนแล ฯ ฯ เสด็จแล้ว จบแลนายเหย ยังมีโยมเมาะ โยมอิน กับอ้ายหนานหลวง กับเอื้อยนวน เอื้อยฅำ ยังมีศรัทธาหนังสือพระยาสี่เสาไว้ค้ำชูศาสนา น ปจโย โหตุ ธุวํ ธุวํ แด่เทอะ รัสสภิกขุธรรมสอนหาใบลานมาเขียนพระยาสี่เสา ค้ำชูศาสนาแด่เทอะ ละยังชักชวนกันพร้อมกับลูกชู่ผู้ชู่คนแทนเทอะแลนา ลูกหลานกับทั้งลูกหลานแลนายเหย รัสสภิกขุธรรมสอน อยู่บ้านดอนกอกแลนายเหย ตัวบ่ดีบ่งามสักน้อย เหมือนปูยาดคันนาแลนายเหย อันนี้ไปรอดไปเถิงชูผู้ชู่คนเทอะ พระพี่ ทุพี่ ค่อยพิจารณาดูเทอะ” หน้าทับปลาย ระบุ “หน้าต้นพระยาสี่เสา” เขียนอักษรธรรมล้านนาด้วยดินสอดำ “พระยาสี่เสาต้น แลนายเหยแล”

RBR003-218 หอยสังข์ ผูก 4

ธรรมคดี
ไทยวน , เชียงแสน , ล้านนา , ราชบุรี , วรรณกรรมพื้นบ้าน , ชาดก , หอยสังข์ , สุวรรณหอยสังข์ , สุวรรณสังข์

RBR_003_216-222 รวมกันอยู่ใน “เลขที่ 35 สุวรรณหอยสังข์ อักษรธรรมล้านนา ภาษาบาลี-ไทยล้านนา ฉบับล่องชาด 7 ผูก” มีไม้บัญชักทำด้วยไม้ไผ่ เขียนอักษรไทยด้วยปากกาเมจิกสีน้ำเงิน “เรื่องหอยสังข์มี 6 ผูก” หน้าทับต้น ระบุ “หน้าทับเค้าสุวรรณหอยสังข์ ผูกถ้วน ๔ แลนายเหย” หน้ารอง หน้าทับต้น เขียนอักษรไทยด้วยปากกาลูกลื่นสีน้ำเงิน “ใบลานอย่างดีที่สุดของเด็ดผู้ดี XX ในปีที่๒ พศ๒๔๘๓ XXXXX” ท้ายลาน ระบุ “สุวณฺณสงฺขราช นิฏฺฐิตา กิริยาอันกล่าวสุวรรณสังขราชผูกถ้วน ๔ ก็บอระมวลเท่านี้ก่อนแล

RBR003-217 หอยสังข์ ผูก 2

ธรรมคดี
ไทยวน , เชียงแสน , ล้านนา , ราชบุรี , วรรณกรรมพื้นบ้าน , ชาดก , หอยสังข์ , สุวรรณหอยสังข์ , สุวรรณสังข์

RBR_003_216-222 รวมกันอยู่ใน “เลขที่ 35 สุวรรณหอยสังข์ อักษรธรรมล้านนา ภาษาบาลี-ไทยล้านนา ฉบับล่องชาด 7 ผูก” มีไม้บัญชักทำด้วยไม้ไผ่ เขียนอักษรไทยด้วยปากกาเมจิกสีน้ำเงิน “เรื่องหอยสังข์มี 6 ผูก” RBR_216-217 เป็นชุดเดียวกัน หน้าทับต้น เขียนอักษรไทยด้วยปากกาลูกลื่น “หอยสังข์ผูกที่ ๒” และเขียนอักษรธรรมด้วยดินสอดำ “ผูกที่ ๒”, “ผูก ๒ วัดใหญ่” / ด้านหลัง เขียนอักษรขอมไทยด้วยปากกาลูกลื่นสีน้ำเงิน“ทฺทายถานิหิอํปตุพุทฺโธอํสุนาเมเหกฺนน” ลานแรก ด้านซ้ายมือ “สุวรรณหอยสังข์ ผูก ๒” ท้ายลาน ระบุ “สุวณฺณสงฺขราช นิฏฺฐฺตํ กิริยาสังวรรณนาสังขราช อันถ้วน ๔ ก็เสด็จบอระบวลควรแก่เท่านี้ก่อนแล ☼ เสด็จแล้วยามเมื่อตาวันบ่ายโมง ๑ แลนายเหย พร่ำว่าได้วันอังคารแลนายเหย ยามเมื่อเพิ่นเทศน์คาถาพันนั้นแลนายเหย เพราะชีนั้น ตัวบ่่บิด เพราะว่าหันอีนั้นมันนั่งอยู่ริมหัวขั้นได อี ๑ นั้นมันอยู่ทัดเสาหั้นหนาอาเหย รัสสภิกขุอยู่บ้านนาหนอง เขียนหนังสือนี้ไว้ค้ำชูศาสนา มีทุโทพร้อมกับโยมดี โยมมูน กับเอื้อยมี อีทิพย์ อีชำ บาเรือน บาเจียม บาเคียม กับทุุพี่โห อย่าไปด่าข้าเนอ ทุพี่โหเหย เพราะว่าใจบ่ดี หันสาวมันมาวัด วันเทศน์คาถานั้นหนาอาเหย แก้มอองตอง ทองบ่พอให้ เจ้ารอเอาให้พอเฟื้อง ทิพย์เหย ทิพย์เหย” และเขียนอักษรธรรมล้านนาด้วยดินสอดำ “โยมดี โยมมูน สร้างไว้กับศาสนา ๕๐๐๐ วัสสา” หน้าทับปลาย เขียนอักษรไทยด้วยดินสอดำ “ผูก ๒ วัดอ่างทอง”