RBR_003_213-215 รวมกันอยู่ใน “เลขที่ 56 กล่ำกาดำ อักษรธรรมล้านนา ภาษาบาลี-ไทยล้านนา ฉบับล่องชาด-ลานดิบ” พบเพียง ๓ ผูก หน้าทับต้น ระบุ “พิมพาขะนุ่นงิ้ว ผูกถ้วน ๓ แล มีกับกัน ๔ ผูก” เขียนอักษรไทยด้วยปากกาน้ำเงิน “ก่ำกาดำ มาจากบางกะโด” หน้ารอง หน้าทับต้น เขียนอักษรไทยด้วยปากกาลูกลื่นสีน้ำเงิน “ก่ำกาดำ มาจากบางกะโด” ท้ายลาน ระบุ “สํวณฺณนา พิมฺพาชาตกํ กิริยาอันกล่าวแก้ไขยังพิมพาขะนุ่นงิ้วผูกถ้วน ๓ ก็สมเร็จแล้วเท่านี้ก่อนแล” / “ก็มีแลนายเหย กรุณาสัตตริจสา”
RBR_003_213-215 รวมกันอยู่ใน “เลขที่ 56 กล่ำกาดำ อักษรธรรมล้านนา ภาษาบาลี-ไทยล้านนา ฉบับล่องชาด-ลานดิบ” พบเพียง ๓ ผูก หน้าทับต้น ระบุ “๏ หน้าทับเค้าก่ำกาดำผูกต้นแลนายเหย พีสี รัสสภิกขุพรหมสอนอยู่บ้านหล่ายหนองเขียนหนังสือผูกนี้ขอหื้อค้ำชูศาสนาต่อเท่าพระอริยะ” / เขียนอักษรไทยด้วยปากกาลูกลื่นสีน้ำเงิน “กล่ำกาดำผูก๑” ลานแรก ด้าน“พิมพานุ่นงิ้วผูกต้น” ท้ายลาน ระบุ “พิมฺพาสิมฺพลียํ ปฐมํ นิฏฺฐิตํ กิริยาสังวรรณนาพิมพาขะนุ่นงิ้วผูกต้น ก็บังคมสมเร็จเสด็จแล้วเท่านี้ก่อนแล๛” มีรอยแก้ไขด้วยดินสอดำ
RBR_003_201-211 รวมกันอยู่ใน “เลขที่ ๔๗ กล่ำกาดำ อักษรธรรมล้านนา ภาษาบาลี-ไทยล้านนา ฉบับทองทึบ ๑๑ ผูก” RBR_206-208 เป็นชุดเดียวกัน หน้าทับต้น ระบุ “※๚ หน้าทับเค้าหนังสือก่ำกาดำ ผูกถ้วน ๒ แลพิมพาขะนุ่นงิ้วแล ฯฯ๛” ท้ายลาน ระบุ “กิริยาอันกล่าวสังวรรณนาจาห้องค่าวนางพิมพาขะนุ่นงิ้ว มารอดผูกถ้วน ๒ อันอาจารย์เจ้าขอดเป็นโวหารตามนิทานกล่าวไว้ วิสัชนาคลองใคร่บอกคถา นิฏฺฐิตา ก็สมเร็จเสด็จแล้วเท่านี้ก่อนแล ฯฯ๛ เสด็จแล้วปีชวด เดือน ๗ แรม ๙ ค่ำ วัน ๕ ยามก่อนเพลแล ขอสุข ๓ ประการ นิพพานเป็นที่แล้วก่อนแล เอื้อยเสา สร้างไว้ในพระศาสนาพระพุทธเจ้าแห่งเราก่อนแลแล ฯฯ๛”
RBR_003_176-186 รวมกันอยู่ใน “เลขที่ 50 ปทุมบัวหอม ผูก 1–6 อักษรธรรมล้านนา ภาษาบาลี-ไทยล้านนา ฉบับทองทึบ ไม่มีไม้ประกับ 11 ผูก” RBR_003_179-181 เป็นชุดเดียวกัน หน้าทับต้น ระบุ “ฯหน้าทับเค้าปทุมบัวหอมผูก ๔”, เขียนอักษรไทยด้วยปากกาลูกลื่นสีน้ำเงิน “ บัวหอมผูก ๔”และ “สร้างพ.ศ. ๒๔๔๒ ปีกุน”
RBR_003_176-186 รวมกันอยู่ใน “เลขที่ 50 ปทุมบัวหอม ผูก 1–6 อักษรธรรมล้านนา ภาษาบาลี-ไทยล้านนา ฉบับทองทึบ ไม่มีไม้ประกับ 11 ผูก” RBR_003_179-181 เป็นชุดเดียวกัน หน้าก่อนทับเค้า เขียนอักษรไทยด้วยปากกาเมจิกสีน้ำเงิน “บวัหอม ผูก ๓” หน้าทับเค้า ระบุ “หน้าทับเค้าปทุมบัวหอม ผูก ๓ แล ฯฯ๛” / “ศรัทธาอาวหนานจันดี กับภริยา ชื่อว่า อาเภียร มีศรัทธาสร้างธรรม ชื่อว่า อภิธรรม ๓ ไตร กับบัวหอม ขอหื้อไปรอดลูกผู้ ๑ ชื่อว่า หนานปาน ลูกเขยผู้ ๑ ชื่อว่า รอด นอกกว่านั้นทั้งปิตามารดาชุผู้ชุคนแด่ แด่เทอะ นิพฺพาน ปจฺจโย โหตุ จุ่งมีแก่ข้าแด่เทอะ ฯฯ๛” / เขียนอักษรไทยด้วยปากกาลูกลื่นสีน้ำเงิน“บวัหอม ผูก ๓” และ “สร้างในพุทธศักราช ๒๔๔๒ พ.ศ.๒๔๔๒” (อักษรตัวเอียง เขียนอักษรธรรมล้านนาด้วยปากกาลูกลื่นสีน้ำเงิน) ท้ายลาน ระบุ “กิริยาอันกล่าวสังวรรณนายังปทุมคันธะกัณฑ์ถ้วน ๓ ก็สมเร็จเสด็จแล้วบัวระมวลควรแก่กาลเท่านี้แล แลนายเหยฯ” มีรอยแก้ไขด้วยดินสอดำ
RBR_003_176-186 รวมกันอยู่ใน “เลขที่ 50 ปทุมบัวหอม ผูก 1–6 อักษรธรรมล้านนา ภาษาบาลี-ไทยล้านนา ฉบับทองทึบ ไม่มีไม้ประกับ 11 ผูก” RBR_003_179-181 เป็นชุดเดียวกัน หน้าทับต้น ระบุ “หน้าทับเค้าบัวหอมผูกต้นแลฯฯ๛” เขียนอักษรไทยด้วยปากกาลูกลื่นสีน้ำเงิน “บัวหอมผูก ๑” และ “สร้าง พ.ศ.๒๔๔๒ ปีกุน”
RBR_003_176-186 รวมกันอยู่ใน “เลขที่ 50 ปทุมบัวหอม ผูก 1–6 อักษรธรรมล้านนา ภาษาบาลี-ไทยล้านนา ฉบับทองทึบ ไม่มีไม้ประกับ 11 ผูก” RBR_003_176-178 เป็นชุดเดียวกัน หน้าทับต้น ระบุ “หน้าทับเค้า ปทุมบัวหอม ผูกปลาย มีกับกัน ๕ ผูก แลเหย” / เขียนอักษรไทยด้วยปากกาลูกลื่นสีน้ำเงิน “พ.ศ. ๒๔๓๓” / ลานแรกด้านขวามือ ระบุ “ปทุมบัวหอม ผูกถ้วน ๕” ท้ายลาน ระบุ “กิริยาอันมาแก้ไขเทศนายังโคนะบุตรชาดก ยกแต่เค้าตราบต่อเท่าเถิงผูกถ้วน ๕ ก็บังคมสมเร็จแล้วเท่านี้ก่อนแล ๛ นิพฺพาน ปจฺจโย โหตุ เม นิจฺจํ ธุวํ ธุวํ แก่ข้าแด่เทอะ บัวหอมผูกปลายแล พ่ออย่าได้ไปนินทาจาขวัญข้อยแด่เทอะ ทุพี่พระทุพี่เหย เหตุว่าใคร่ได้บุญเต็มที่เหตุว่าบ่ช่างดีหลายแลนายเหย ขอหื้อนาบุญไปรอดไปเถิงครูบาอาจารย์พ่อแม่พี่น้องชู่ผู้ชู่คนแด่เทอะ รัสสภิกขุสีเขียนแล ตกกับผิดเสียแควนหลาย ตัวก็บ่เสมอกัน พ่อยังยายอยู่ถ้อยจิ่มเพิ่นทั้งนั้น มะยูงกูงกิง เหมือน ๑ ปูเขี่ยขอบนาท่งองนั้นแล ใจมันบ่ตั้งเพราะว่าเจ็บหลังเจ็บแอวเต็มทีแลนายเหย ผูกถ้วน ๕ แล ผู้ใดได้เล่านิมนต์พิจารณาผ่อหื้อถี่ถี่ ไม้อันใดตัวอันใดหู ผ่อหื้อถี่ถี่ดูเทอะ ที่ไหนตกนิมนต์ใส่หื้อจิ่มเทอะเนอทุพี่เหย ข้าเขียนปางเมื่ออยู่วัดดอนมะโกแก้วกว้าง บริบูรณ์เสด็จแล้ว ตะวันพาดปลายไม้แล้ววันศุกร์ ปีขาล เดือน ๑๐ ขึ้นหกค่ำ พร่ำว่าได้วันศุกร์แลนายเหย๛” เขียนอักษรไทยด้วยปากกาลูกลื่นสีน้ำเงิน “เขียนเมื่อวันที่ 19 วันศุกร์ เดือนกันยายน ขึ้น ๖ ค่ำ ปีขาล พ.ศ. ๒๔๓๓”
RBR_003_176-186 รวมกันอยู่ใน “เลขที่ 50 ปทุมบัวหอม ผูก 1-6 อักษรธรรมล้านนา ภาษาบาลี-ไทยล้านนา ฉบับทองทึบ ไม่มีไม้ประกับ 11 ผูก” RBR_003_176-178 เป็นชุดเดียวกัน หน้าทับต้น เขียนอักษรไทยด้วยปากกาลูกลื่นสีน้ำเงิน “บัวหอมผูก ๒” / ลานแรกด้านขวามือ ระบุ “ปทุมบัวหอมผูกถ้วน ๒” ท้ายลาน ระบุ “กิริยาอันสังวรรณนายังนิยายจาด้วยดอกบัวหอม ทุติยะกัณฑ์ถ้วน ๒ ก็สมเร็จเสด็จแล้วเท่านี้ก่อนแล ๛ บริบูรณ์เสด็จแล้วยามแถจักใกล้ค่ำ พร่ำว่าได้ปีขาล เดือน ๙ แรม ๘ ค่ำ พร่ำว่าได้วัน ๑ แลนายเหย ข้าเขียนบ่ดีบ่งาม ใหม่แล เหตุใคร่ได้บุญเต็มทีแลนายเหย ตกกับผิดเสียแควนหลาย ขออย่าไปด่าจาขวัญข้าแท้เนอเจ้าเนอ นายเนอ ลางตัวก็ใหญ่ ลางตัวก็น้อย บ่เสมอแท้แล ๛ ข้าขอกุศลบุญอันนี้ไปรอดบิดามารดาครูบาอาจารย์ข้าจิ่มเทอะ เอ้ย(เอื้อย) อ้าย น้อง ข้า จิ่มเทอะ” หน้าทับปลาย ระบุ “เขียนเมื่อวันที่ ๗ กันยายน พ.ศ. ๒๔๓๓ ตรงกับวันอาทิตย์ แรม ๘ ค่ำ เดือน ๙ ปีขาล ร.ศ.๑๐๙ เขียนเมื่ออยู่วันดอนตะโกและ” มีรอยแก้ไขด้วยปากกาลูกลื่นสีน้ำเงินและดินสอ
RBR_003_187-194 รวมกันอยู่ใน “เลขที่ 41 หงส์หิน ผูก 1-4 อักษรธรรมล้านนา ภาษาบาลี-ไทยล้านนา ฉบับลานดิบ, ล่องชาด ไม่มีไม้ประกับ 8 ผูก” หน้าทับต้น เขียนอักษรไทยด้วยปากกาลูกลื่นสีน้ำเงิน “หงษหิน” เขียนอักษรธรรมด้วยดินสอดำ “นางเอยสร้างอยู่บ้านดอนกอกและ พ.ศ.๖๗” และ “ผูกปลาย” ด้านหลัง เขียนอักษรไทยด้วยดินสอดำ “รางตัวก็ใหญ่ รางตัวก็น้อย[เหมือนตา]ไก่น้อย น้อย น้อย น้อย”, “นายฉุย [คุณ]ทองคำ / นายหงษ์ ใจมุ่ง / นายวงศ ชมภูพันธ์” ลานแรก ด้านซ้ายมือ “ทุกข ผูกปลาย หงหิน” ท้ายลาน ระบุ “ทุกฺขขตฺติยชาตกํ นิฏฺฐิตํ สังวรรณนาเทศนาทุกขขัตติยชาตกํ ผูกถ้วน ๓ ก็บอระมวลกาลควรเท่านี้ก่อนแล ฯ ๛ จบนาย ตัวบ่ดีสักน้อย ตกที่ใดนิมนต์ใส่หื้อจิ่มเนอ ตัวบ่ดีสักน้อย รางตัวก็ใหญ่ รางตัวก็หน้อย พอเป็นถ้อยอยู่ใบลานแลนายเหย จบวันศุกร์ ะ” และเขียนอักษรไทยด้วยดินสอดำ “นางเอยสร้างอยู่บ้านดอนกอก มีรอยแก้ไขด้วยปากกาสีน้ำเงิน