จันทคาดเป็นวรรณกรรมชาดกที่ได้รับความนิยมเพราะเป็นเรื่องแพร่หลายอยู่ในทุกภาคของประเทศไทยประเทศไทย ดังจะเห็นได้จากวิทยานิพนธ์ ระดับมหาบัณฑิตเรื่อง “การศึกษาเปรียบเทียบวรรณกรรมเรื่องจันทฆาต ฉบับภาคกลาง ฉบับล้านนา ฉบับภาคอีสาน และฉบับภาคใต้” ซึ่งเป็นการนำเรื่อง จันทฆาต ทั้งสี่ภาค สี่สำนวนมาเปรียบเทียบกัน ซึ่งแต่ละภาคต่างมีลักษณะเฉพาะในความเป็นท้องถิ่นของตัวเอง หน้าต้นเขียนไว้ว่า “ณ วัน 6 แรม 1 ค่ำ เดือน 1 ปีระกา หนเบญจศก หน้าปลายเขียนไว้ว่า คุณแดงมีสัทาอุษาหะทรางนังสือใวยพระสาศนา”
จันทคาด เล่ม 3 (NPT006-004). (2558). สืบค้น 06 กุมภาพันธ์ 2568. จาก ฐานข้อมูลเอกสารโบราณภูมิภาคตะวันตกในประเทศไทย. http://manuscripts.sac.or.th/manuscript-info.php?id=86
จันทคาด เล่ม 3 (NPT006-004). [ออนไลน์]. เข้าถึงจาก : http://manuscripts.sac.or.th/manuscript-info.php?id=86. (วันที่ค้นข้อมูล : 06 กุมภาพันธ์ 2568)
จันทคาด เล่ม 3 (NPT006-004). สืบค้นเมื่อ 06 กุมภาพันธ์ 2568. http://manuscripts.sac.or.th/manuscript-info.php?id=86