มัดรวมกันอยู่ใน “เลขที่ ๔๖ ลายงู อักษรธรรมล้านนา ภาษาบาลี-ไทยล้านนา ฉบับทองทึบ ๑๐ ผูก” หน้าทับเค้า เขียนอักษรไทยด้วยปากกาลูกลื่นสีน้ำเงิน “ลายงู ผูก ๔” ลานแรกด้านซ้ายมือ เขียนอักษรไทยด้วยปากกาลูกลื่นสีน้ำเงิน “ลายงู ผูก ๔” ท้ายลาน ระบุ “กิริยาสังวรรณนาจาเถิงพระยาเจ้าเมืองลายงูเข้ามาบูชามหาสัตว์เจ้าด้วยข้าวของอันมากนัก แล้วพระยาตนนั้นดังกล่าวมานี้แล อิติวุตฺตปกาเลน ด้วยประการดังกล่าวมานี้แล นิยายลายงู ผูกถ้วน ๔ ก็สมเร็จเสด็จแล้วเท่านี้ก่อนแล ฯ๛ รัสสภิกขุซมสร้างเอาเองปางเมื่อบวชเป็นภิกขุอยู่วัดดองแจง อยากใคร่ได้บุญเต็มที ข้าขอสุข ๓ ประการ หื้อผู้ข้าได้เถิงนิพพานเป็นที่แล้วแด่เทอะ ขอกุศลนาบุญอันไปรอดญาติพี่น้องชู่ผู้ชู่คนแด่เทอะ” หน้าทับปลาย จารอักษรขอมไทย ระบุ “ฉันไม่เคยเลย ที่เขียนจะสร้างไว้ในพุทธศาสนา”
นิยายลายงู ผูก 4 (RBR003-145). (2564). สืบค้น 05 กุมภาพันธ์ 2568. จาก ฐานข้อมูลเอกสารโบราณภูมิภาคตะวันตกในประเทศไทย. http://manuscripts.sac.or.th/manuscript-info.php?id=533
นิยายลายงู ผูก 4 (RBR003-145). [ออนไลน์]. เข้าถึงจาก : http://manuscripts.sac.or.th/manuscript-info.php?id=533. (วันที่ค้นข้อมูล : 05 กุมภาพันธ์ 2568)
นิยายลายงู ผูก 4 (RBR003-145). สืบค้นเมื่อ 05 กุมภาพันธ์ 2568. http://manuscripts.sac.or.th/manuscript-info.php?id=533