“คาย” หรือ “ค่าคาย” นั้น หมายถึง เงินค่ายกครู รวมทั้งดอกไม้ธูปเทียน อุปกรณ์อาหารคาวหวาน ข้าวของเครื่องใช้ในพิธีกรรมนั้น ๆ ซึ่งในแต่ละพิธีกรรมนั้นเจ้าพิธีจะเป็นผู้กำหนดเงินค่าครู และอุปกรณ์อื่นๆ ที่ใช้ในพิธีกรรม ซึ่งรวมเรียกว่า “คาย” หรือ “ตั้งคาย” ทะเบียนของหอจดหมายเหตุสาธารณสุขแห่งชาติ คือ (23) สบ. 23.1.4/46 นายทองอ่อน สิทธิไกรพงษ์ได้มอบให้หอจดหมายเหตุสาธารณสุขแห่งชาติเก็บรักษา อ้างอิง “คาย : เครื่องบูชา.” สารานุกรมวัฒนธรรมไทย ภาคอีสาน เล่ม 2. กรุงเทพฯ: มูลนิธิสารานุกรมวัฒนธรรมไทย ธนาคารไทยพาณิชย์, 2542: 669-670.
คัมภีร์แต่งคายเสียเคราะห์ (NPH001-046). (2566). สืบค้น 05 กุมภาพันธ์ 2568. จาก ฐานข้อมูลเอกสารโบราณภูมิภาคตะวันตกในประเทศไทย. http://manuscripts.sac.or.th/manuscript-info.php?id=1154
คัมภีร์แต่งคายเสียเคราะห์ (NPH001-046). [ออนไลน์]. เข้าถึงจาก : http://manuscripts.sac.or.th/manuscript-info.php?id=1154. (วันที่ค้นข้อมูล : 05 กุมภาพันธ์ 2568)
คัมภีร์แต่งคายเสียเคราะห์ (NPH001-046). สืบค้นเมื่อ 05 กุมภาพันธ์ 2568. http://manuscripts.sac.or.th/manuscript-info.php?id=1154