กิจกรรม

พบผลลัพธ์ทั้งหมด 49 รายการ (6 หน้า)

เมื่อวันที่ 30-31 สิงหาคม ที่ผ่านมา นักวิชาการและเจ้าหน้าที่จากศูนย์ฯ ประกอบด้วย ดอกรัก พยัคศรี (นักวิชาการฐานข้อมูล) สมศักดิ์ แก้วนุช (เจ้าหน้าที่ประสานงาน) นิสา เชยกลิ่น (เจ้าหน้าที่ฐานข้อมูล) และศุภกรานต์ พุ่มพฤกษ์ (เจ้าหน้าโสตทัศน์) เข้าไปทำทะเบียน และทำสำเนาดิจิทัลเอกสารโบราณ เป็นครั้งที่ 4

เมื่อวันที่ 10-12 พฤศจิกายน ที่ผ่านมา นักวิชาการและเจ้าหน้าที่จากศูนย์ฯ ประกอบด้วย ดอกรัก พยัคศรี (นักวิชาการฐานข้อมูล) สมศักดิ์ แก้วนุช (เจ้าหน้าที่ประสานงาน) นิสา เชยกลิ่น (เจ้าหน้าที่ฐานข้อมูล) และศุภกรานต์ พุ่มพฤกษ์ (เจ้าหน้าที่โสตทัศน์) เข้าไปทำทะเบียน และทำสำเนาดิจิทัลเอกสารโบราณ เป็นครั้งที่ 9

เมื่อวันที่ 23 กันยายน ที่ผ่านมา นักวิชาการและเจ้าหน้าที่จากศูนย์ฯ ประกอบด้วย ดอกรัก พยัคศรี (นักวิชาการฐานข้อมูล) สมศักดิ์ แก้วนุช (เจ้าหน้าที่ประสานงาน) นิสา เชยกลิ่น (เจ้าหน้าที่ฐานข้อมูล) และศุภกรานต์ พุ่มพฤกษ์ (เจ้าหน้าที่โสตทัศน์) เข้าไปทำทะเบียน และทำสำเนาดิจิทัลเอกสารโบราณ เป็นครั้งที่ 10

เมื่อวันที่ 10-12 ตุลาคม ที่ผ่านมา นักวิชาการและเจ้าหน้าที่จากศูนย์ฯ ประกอบด้วย ดอกรัก พยัคศรี (นักวิชาการฐานข้อมูล) สมศักดิ์ แก้วนุช (เจ้าหน้าที่ประสานงาน) นิสา เชยกลิ่น (เจ้าหน้าที่ฐานข้อมูล) และศุภกรานต์ พุ่มพฤกษ์ (เจ้าหน้าที่โสตทัศน์) เข้าไปทำทะเบียน และทำสำเนาดิจิทัลเอกสารโบราณ เป็นครั้งที่ 8 และสำรวจเอกสารโบราณที่หอวัฒนธรรมลาวเวียง วัดโบสถ์ ต.บ้านเลือก อ.โพธาราม จ.ราชบุรี

การสำรวจและทำทะเบียนเอกสารโบราณ ณ วัดเจ็ดริ้ว จ.สมุทรสาคร ในครั้งนี้สืบเนื่องมาจากเจ้าหน้าที่ของกลุ่มงานคลังข้อมูลไปเก็บข้อมูลเรื่องประเพณีล้างเท้าพระในวันออกพรรษาของชาวมอญที่วัดแห่งนี้ ทำให้ทราบว่าที่นี่ได้เก็บรักษาเอกสารโบราณเอาไว้จำนวนหนึ่งโดยเป็นสมบัติเดิมของวัด จึงได้วางแผนมาสำรวจและทำทะเบียนเอกสารโบราณ

เมื่อวันที่ 22-23 ธันวาคม 2559 ที่ผ่านมา นักวิชาการและเจ้าหน้าที่จากศูนย์ฯ เข้าไปทำทะเบียน และทำสำเนาดิจิทัลเอกสารโบราณ โดยครั้งนี้เป็นครั้งที่ 2

ปลายสมัยรัชกาลที่ 2 พระยามหาโยธา (เจ่ง คชเสนี) ขุนนางไทยเชื้อสายมอญได้นิมนต์พระราชาคณะฝ่ายรามัญนิกายมาเป็นเจ้าอาวาส วัดคงคารามเจริญรุ่งเรืองถึงขั้นสูงสุดในสมัยรัชกาลที่ 4 พระครูรามัญญาธิบดี เจ้าอาวาสเป็นที่เคารพนับถือมาก กิจกรรมต่างๆ ของวัดได้รับการอุปถัมภ์โดยเจ้าจอมมารดากลิ่นในรัชกาลที่ 4 และทูลเกล้าฯ ถวายให้เป็นพระอารามหลวง ซึ่งได้รับพระราชทานนามวัดใหม่ว่า "วัดคงคาราม"

หมอเห สายโกสินทร์ (สกุลเดิม จงกลนี) เป็นหมอยาพื้นบ้านที่ได้รับความนับถือจากผู้คนในชุมชนวัดท่าพูด ต.ไร่ขิง อ.สามพราน จ.นครปฐม นอกจากนี้หมอเหเองยังเป็นเจ้าพิธีกรรมต่างๆ ด้วย หากบ้านใดมีงานทำบุญ งานแต่งงาน งานทำขวัญ หมอเหก็จะไปช่วยเป็นเจ้าพิธีในงานนั้นๆ หมอเหร่ำเรียนวิชาแพทย์แผนไทยสมัยเมื่อยังบวชเรียนที่วัดท่าพูด ต่อมาเมื่อสึกเป็นฆราวาสก็ได้ใช้วิชาแพทย์แผนไทยของท่านช่วยรักษาโรคภัยให้ชาวบ้าน

เมื่อวันที่ 28-30 มีนาคม ที่ผ่านมา นักวิชาการและเจ้าหน้าที่จากศูนย์ฯ ประกอบด้วย ดอกรัก พยัคศรี (นักวิชาการฐานข้อมูล) สมศักดิ์ แก้วนุช (เจ้าหน้าที่ประสานงาน) นิสา เชยกลิ่น (เจ้าหน้าที่ฐานข้อมูล) และศุภกรานต์ พุ่มพฤกษ์ (เจ้าหน้าที่โสตทัศน์) เข้าไปทำทะเบียน และทำสำเนาดิจิทัลเอกสารโบราณ เป็นครั้งที่ 3