RBR_003_223-233 รวมกันอยู่ใน “เลขที่ 48 พระยาสี่เสา ผูก 1-3 อักษรธรรมล้านนา ภาษาบาลี-ไทยล้านนา ฉบับล่องชาด ทองทึบ ๑๑ ผูก” ไม่มีไม้ประกับ ไม้บัญชักทำด้วยไม้ไผ่ เขียนอักษรไทยด้วยปากกาเมจิกสีน้ำเงิน “พระยาสี่เสา มี 6 ผูก” / RBR_003_232-233 ชุดเดียวกัน ทองทึบ ทองหลุด พื้นรัก หน้าทับต้น เขียนอักษรไทยด้วยปากาลูกลื่นสีแดง ระบุ “พญาสี่เสาผูกที่ ๒” หน้ารองหน้าทับ ระบุ “ฯ หน้าต้นพระยาสี่เสา ผูก ๒ แลนาเหย มีอยู่ ๓ ผูกและนาฯฯ๛” (เหย เขียน ห) ท้ายลาน ระบุ “สํวณฺณนา นิฏฺฐิตา กล่าวห้องพระยาสี่เสา ก็บังคมสมเร็จเสด็จแล้วเท่านี้ก่อนแล ฯฯ๛ เสด็จแล้วตาวันบ่ายแลนาเหย อันว่า รัสสภิกขุสะ เขียนบ่ดีสักหน้อย เพราะว่าบ่เคยเขียนสักคำเทื่อ ผิดที่ใดใส่หื้อจิ่มเทอะ ทุพี่ทุอาวองค์ใดก็แล้ว คันว่าได้เล่าเรียนก็ดี ได้เทศน์แล้ว อย่าไปใคร่หัวข้อยเนอ นิพฺพาน ปจฺจโย โหตุ เม นิจฺจํ ธุวํ ธุวํ แก่ข้าแด่เทอะ ๛”
พระยาสี่เสาร์ ผูก 2 (RBR003-232). (2564). สืบค้น 06 กุมภาพันธ์ 2568. จาก ฐานข้อมูลเอกสารโบราณภูมิภาคตะวันตกในประเทศไทย. http://manuscripts.sac.or.th/manuscript-info.php?id=625
พระยาสี่เสาร์ ผูก 2 (RBR003-232). [ออนไลน์]. เข้าถึงจาก : http://manuscripts.sac.or.th/manuscript-info.php?id=625. (วันที่ค้นข้อมูล : 06 กุมภาพันธ์ 2568)
พระยาสี่เสาร์ ผูก 2 (RBR003-232). สืบค้นเมื่อ 06 กุมภาพันธ์ 2568. http://manuscripts.sac.or.th/manuscript-info.php?id=625