RBR_003_223-233 รวมกันอยู่ใน “เลขที่ 48 พระยาสี่เสา ผูก 1-3 อักษรธรรมล้านนา ภาษาบาลี-ไทยล้านนา ฉบับล่องชาด ทองทึบ 11 ผูก” ไม่มีไม้ประกับ ไม้บัญชักทำด้วยไม้ไผ่ เขียนอักษรไทยด้วยปากกาเมจิกสีน้ำเงิน “พระยาสี่เสา มี 6 ผูก” / RBR_003_229-231 ชุดเดียวกัน ทองทึบ ทองหลุด พื้นรัก หน้าทับต้น เขียนอักษรไทยด้วยปากกาลูกลื่นสี่น้ำเงิน “พญาสี่เส้าผูกที่ ๓ หน้าหลัง เขียนอักษรธรรมล้านนาด้วยดินสอดำ “พระยาสี่เสาผูก ๓ แลนา พระยาสี่เสาผูก ๓” ลานแรก ด้านซ้ายมือ จารไม่ลงหมึก “พระยาสี่เสาผูก ๓” ท้ายลาน ระบุ “กิริยาอันกล่าวจายังพระยาสี่เสาผูกถ้วน ๓ ก็แล้วเท่านี้ก่อนแล เสด็จแล้วยามเข้าไต้เข้าไฟแลนา หนังสืออาฅุ้มเป็นเค้าพร้อมกับด้วยลูกเต้า นางชาคน ๑ นางขันแก้ว หนานฅำ หนานนาบึด นางฟอง นางฅำป้อ นางเตย เป็นหล้าครัวหอม หนานพรมเพิ่นก็ชักชวนได้ขงขวายหาได้ยังใบลานมาหื้อผู้ข้าตนชื่อว่า รัสสภิกขุอยู่ เป็นผู้เขียนหื้อ
พระยาสี่เสาร์ ผูก 3 (RBR003-231). (2564). สืบค้น 06 กุมภาพันธ์ 2568. จาก ฐานข้อมูลเอกสารโบราณภูมิภาคตะวันตกในประเทศไทย. http://manuscripts.sac.or.th/manuscript-info.php?id=624
พระยาสี่เสาร์ ผูก 3 (RBR003-231). [ออนไลน์]. เข้าถึงจาก : http://manuscripts.sac.or.th/manuscript-info.php?id=624. (วันที่ค้นข้อมูล : 06 กุมภาพันธ์ 2568)
พระยาสี่เสาร์ ผูก 3 (RBR003-231). สืบค้นเมื่อ 06 กุมภาพันธ์ 2568. http://manuscripts.sac.or.th/manuscript-info.php?id=624