RBR_003_223-233 รวมกันอยู่ใน “เลขที่ ๔๘ พระยาสี่เสา ผูก 1-3 อักษรธรรมล้านนา ภาษาบาลี-ไทยล้านนา ฉบับล่องชาด ทองทึบ 11 ผูก” ไม่มีไม้ประกับ ไม้บัญชักทำด้วยไม้ไผ่ เขียนอักษรไทยด้วยปากกาเมจิกสีน้ำเงิน “พระยาสี่เสา มี 6 ผูก” / RBR_003_226-228 ชุดเดียวกัน ทองทึบ ทองหลุด พื้นชาด หน้าทับต้น ระบุ “พระยาสี่เสา ผูก ๓ อยู่ปลายหมู่” / เขียนอักษรไทยด้วยปากกาลูกลื่นสี่น้ำเงิน “พยาสี่เสาผูก๓” ลานแรก ด้านซ้ายมือ ระบุ “พระยาสี่เสาผูกถ้วน ๒” ท้ายลาน ระบุ “กิริยาอันกล่าวห้องพระยาสี่เสาผูกถ้วน ๓ ก็สมเร็จเสด็จแล้วเท่านี้ก่อนแล ฯ๛ พระยาสี่เสาคัมภีร์นี้มี้มี ๓ ผูกกับกันเท่าอั้นแล ข้าเขียนบ่ดี ลางตัวก็ใหญ่ ลางตัวก็น้อย อย่าไปด่าข้าเนอ เพราะบ่สันทัดแท้ พอเป็นถ้อยอยู่ในใบลาน ข้าสร้างไว้ ขอหื้อนิพพานชาตินี้ชาติหน้า รัสสภิกขุอินทสอน อยู่วัดนองบัว ข้างวัดนา”
พระยาสี่เสาร์ ผูก 3 (RBR003-228). (2564). สืบค้น 05 กุมภาพันธ์ 2568. จาก ฐานข้อมูลเอกสารโบราณภูมิภาคตะวันตกในประเทศไทย. http://manuscripts.sac.or.th/manuscript-info.php?id=620
พระยาสี่เสาร์ ผูก 3 (RBR003-228). [ออนไลน์]. เข้าถึงจาก : http://manuscripts.sac.or.th/manuscript-info.php?id=620. (วันที่ค้นข้อมูล : 05 กุมภาพันธ์ 2568)
พระยาสี่เสาร์ ผูก 3 (RBR003-228). สืบค้นเมื่อ 05 กุมภาพันธ์ 2568. http://manuscripts.sac.or.th/manuscript-info.php?id=620