RBR_003_223-233 รวมกันอยู่ใน “เลขที่ 48 พระยาสี่เสา ผูก 1-3 อักษรธรรมล้านนา ภาษาบาลี-ไทยล้านนา ฉบับล่องชาด ทองทึบ 11 ผูก” ไม่มีไม้ประกับ ไม้บัญชักทำด้วยไม้ไผ่ เขียนอักษรไทยด้วยปากกาเมจิกสีน้ำเงิน “พระยาสี่เสา มี 6 ผูก” หน้าทับต้น เขียนอักษรไทยด้วยปากกาลูกลื่นสีน้ำเงิน “พญาสี่เส้า ผูกที่ ๒” / ด้านหลัง เขียนอักษรธรรมล้านนาด้วยดินสอดำ “พระยาสีเสาผูก ๒”, “พระยาสีเสา ผูก ๒” ลานแรก ด้านซ้ายมือ ระบุ “ผูกปลายพระยาสี่เสา” ท้ายลาน ระบุ “สํวณฺณนา นิฏฺฐิตา กล่าวห้องพระยาสี่เสา ก็สมเร็จเสด็จแล้วเท่านี้ก่อนแล ⁜ ฯฯ บริบูรณ์เสด็จแล้วเดือน ๙ แรม ๔ ค่ำแลนายเหย ลางตัวก็ใหญ่ ลางตัวก็น้อย ลางตัวก็บิ่นหัวไปตังเหนือ ลางตัวบิ่นหัวไปตังใต้ ตัวไหขึ้นมาแล รัสสภิกขุธรรมสอนพร้อมกับโยมเมาะ โยมอิน ญาติพี่น้องวงศาชู่ผู้ชู่คนเทอะ เอื้อยอ้ายน้องแลนายเหย รัสสภิกขุธรรมสอน อยู่วัดนาหนอง บ้านอยู่ดอนกอกเกาะ ตัวบ่ดีบ่งามสักน้อย พระยาอินทร์ พระยาพรหม พระยายมราชแลนายเหย” หน้าทับปลาย เขียนอักษรไทยด้วยดินสอดำ “ปา อะ กา มุ สุ จิ”
พระยาสี่เสาร์ ผูก 2 (RBR003-224). (2564). สืบค้น 05 กุมภาพันธ์ 2568. จาก ฐานข้อมูลเอกสารโบราณภูมิภาคตะวันตกในประเทศไทย. http://manuscripts.sac.or.th/manuscript-info.php?id=616
พระยาสี่เสาร์ ผูก 2 (RBR003-224). [ออนไลน์]. เข้าถึงจาก : http://manuscripts.sac.or.th/manuscript-info.php?id=616. (วันที่ค้นข้อมูล : 05 กุมภาพันธ์ 2568)
พระยาสี่เสาร์ ผูก 2 (RBR003-224). สืบค้นเมื่อ 05 กุมภาพันธ์ 2568. http://manuscripts.sac.or.th/manuscript-info.php?id=616