RBR_003_176-186 รวมกันอยู่ใน “เลขที่ 50 ปทุมบัวหอม ผูก 1–6 อักษรธรรมล้านนา ภาษาบาลี-ไทยล้านนา ฉบับทองทึบ ไม่มีไม้ประกับ 11 ผูก” RBR_003_179-181 เป็นชุดเดียวกัน หน้าก่อนทับเค้า เขียนอักษรไทยด้วยปากกาเมจิกสีน้ำเงิน “บวัหอม ผูก ๓” หน้าทับเค้า ระบุ “หน้าทับเค้าปทุมบัวหอม ผูก ๓ แล ฯฯ๛” / “ศรัทธาอาวหนานจันดี กับภริยา ชื่อว่า อาเภียร มีศรัทธาสร้างธรรม ชื่อว่า อภิธรรม ๓ ไตร กับบัวหอม ขอหื้อไปรอดลูกผู้ ๑ ชื่อว่า หนานปาน ลูกเขยผู้ ๑ ชื่อว่า รอด นอกกว่านั้นทั้งปิตามารดาชุผู้ชุคนแด่ แด่เทอะ นิพฺพาน ปจฺจโย โหตุ จุ่งมีแก่ข้าแด่เทอะ ฯฯ๛” / เขียนอักษรไทยด้วยปากกาลูกลื่นสีน้ำเงิน“บวัหอม ผูก ๓” และ “สร้างในพุทธศักราช ๒๔๔๒ พ.ศ.๒๔๔๒” (อักษรตัวเอียง เขียนอักษรธรรมล้านนาด้วยปากกาลูกลื่นสีน้ำเงิน) ท้ายลาน ระบุ “กิริยาอันกล่าวสังวรรณนายังปทุมคันธะกัณฑ์ถ้วน ๓ ก็สมเร็จเสด็จแล้วบัวระมวลควรแก่กาลเท่านี้แล แลนายเหยฯ” มีรอยแก้ไขด้วยดินสอดำ
ปทุมบัวหอม ผูก 3 (RBR003-180). (2564). สืบค้น 05 กุมภาพันธ์ 2568. จาก ฐานข้อมูลเอกสารโบราณภูมิภาคตะวันตกในประเทศไทย. http://manuscripts.sac.or.th/manuscript-info.php?id=568
ปทุมบัวหอม ผูก 3 (RBR003-180). [ออนไลน์]. เข้าถึงจาก : http://manuscripts.sac.or.th/manuscript-info.php?id=568. (วันที่ค้นข้อมูล : 05 กุมภาพันธ์ 2568)
ปทุมบัวหอม ผูก 3 (RBR003-180). สืบค้นเมื่อ 05 กุมภาพันธ์ 2568. http://manuscripts.sac.or.th/manuscript-info.php?id=568