มัดรวมกันอยู่ใน “เลขที่ ๔๖ ลายงู อักษรธรรมล้านนา ภาษาบาลี-ไทยล้านนา ฉบับทองทึบ ๑๐ ผูก” หน้าทับต้น เขียนอักษรไทยด้วยปากกาลูกลื่นสีแดง “ลายงู ผูก ๖”, จารอักษรธรรมล้านนา ระบุ “◌ หน้าต้น ลายงู ผูกปลาย ซ้ายหางตาสาวแลมายักคิ้วให้ สาวว่าไรใจชื่นบานเท่านี้แล ศรัทธาโยมอยู่โยมมากพร้อมกับด้วยญาติพี่น้องสร้างไว้ในพระศาสนาแล” ท้ายลาน ระบุ “กิริยาแก้ไขยังธรรมเทศนาอันกดเข้ามาในนิกายก็แล้ว กิริยาอันสังวรรณนายังนิยายลายงูชาดก อันพระพุทธเจ้ายกแต่เค้ามาจุจอดรอดเถิงปลายนิยายอันประเสริฐ หื้อบังเกิดกรุณาจิตปสาทะศรัทธาก็เที่ยงว่าจักสมฤทธีดังคำมักคำปรารถนาแห่งสูท่านทั้งหลายบ่อย่าชะแลกล่าวยังนิยายลายงู ผูกถ้วน ๗ ก็สมเร็จเสด็จแล้วเท่านี้ก่อนแล ฯ๛ บริบูรณเสด็จแล้วนายเลย ตัวบ่ดีสักน้อย ข้าอยากได้บุุญเต็มที ก็อดสาเขียดเอาก็บ่ดีได้แล ข้าขอกุศลนาบุญอันนี้ไปรอดญาติโยมพี่น้องผู้ข้าชู่ผู้ครูบาอาจารย์เทอะ ตนตัวข้าจักขอสุข ๓ ประการหื้อได้เถิงนิพพานเป็นที่แล้วแด่เทอะ” ลานสุดท้าย เขียนอักษรไทยด้วยปากกาเมจิกสีน้ำเงิน “ลายงู มี ๖ ผูก” มีรอยแก้ไขด้วยดินสอดำ
นิยายลายงู ผูก 6 (RBR003-147). (2564). สืบค้น 06 กุมภาพันธ์ 2568. จาก ฐานข้อมูลเอกสารโบราณภูมิภาคตะวันตกในประเทศไทย. http://manuscripts.sac.or.th/manuscript-info.php?id=535
นิยายลายงู ผูก 6 (RBR003-147). [ออนไลน์]. เข้าถึงจาก : http://manuscripts.sac.or.th/manuscript-info.php?id=535. (วันที่ค้นข้อมูล : 06 กุมภาพันธ์ 2568)
นิยายลายงู ผูก 6 (RBR003-147). สืบค้นเมื่อ 06 กุมภาพันธ์ 2568. http://manuscripts.sac.or.th/manuscript-info.php?id=535