มัดรวมกันอยู่ใน “เลขที่ ๔๖ ลายงู อักษรธรรมล้านนา ภาษาบาลี-ไทยล้านนา ฉบับทองทึบ ๑๐ ผูก” บันทึก หน้าทับต้น เขียนอักษรไทยด้วยปากกาลูกลื่นสีน้ำเงิน “ลายงู ผูกที่ ๑ มีกลับกัน ๖ ผูก” ลานแรก ด้านซ้ายมือลาน ระบุ “ลูกงู ผูกต้น ๗ ผูก” ท้ายลาน ระบุ “กิริยาสังวรรณนากล่าวเทศนานิยายลายงู ผูกต้น ก็เสด็จบอระมวลกาลควรเท่่านี้ก่อนแล จบแล้ววัน ๒ แลเจ้าเหย รัสสภิกขุธรรม (เทียบจาก RBR_003_138 ควรเป็น รัสสภิกขุธรรมสอน) เอาเอง ปางเมื่ออยู่ระคังแลข้าหา ปฐกํ ยังใบลานมาสร้างยังหนังสือลายงูมีกับด้วย ๗ ผูก ข้าก็พร้อมกับด้วยพ่อแม่พี่น้องมีใจเจตนาสร้าง ข้าขอสุข ๓ ประการ มีนิพพานเป็นที่แล้ว นิจฺจํ นิจฺจํ ธุวํ ธุวํ แด่เทอะ ข้าขอตนตัวข้าสำเร็จดังคำมักคำปรารถนาแด่เทอะ” มีรอยแก้ไขด้วยปากกาลูกลื่นสีน้ำเงินและดินสอดำ
นิยายลายงู ผูกต้น (RBR003-138). (2564). สืบค้น 05 กุมภาพันธ์ 2568. จาก ฐานข้อมูลเอกสารโบราณภูมิภาคตะวันตกในประเทศไทย. http://manuscripts.sac.or.th/manuscript-info.php?id=526
นิยายลายงู ผูกต้น (RBR003-138). [ออนไลน์]. เข้าถึงจาก : http://manuscripts.sac.or.th/manuscript-info.php?id=526. (วันที่ค้นข้อมูล : 05 กุมภาพันธ์ 2568)
นิยายลายงู ผูกต้น (RBR003-138). สืบค้นเมื่อ 05 กุมภาพันธ์ 2568. http://manuscripts.sac.or.th/manuscript-info.php?id=526