มัดรวมกันอยู่ใน “เลขที่ ๔๓ บัวรมบัวรอย นกแลฅำ อักษรธรรมล้านนา ภาษาบาลี-ไทยล้านนา ฉบับล่องชาด ทองทึบ ๘ ผูก หน้าทับเค้า เขียนอักษรไทยด้วยปากกาลูกลื่นสีแดง “บัวรม บัวเรียว บัวรอง ผูกต้น”, หน้าทับใบที่ ๒ เขียนด้วยอักษรไทยด้วยปากกาลูกลื่นสีน้ำเงิน “นกแลคำ ผูกที่ ๑” ลานแรกด้านซ้าย ระบุ “ผูกต้น” ท้ายลาน ระบุ “กิริยาสังวรรณนากล่าวยัง ปทุมบัวรมบัวเรียวบัวรอง ผูกต้น ก็สมเร็จเสด็จแล้วเท่านี้ก่อนแล จบเสด็จแล้วยามค่ำพร่ำว่าได้วันพุธ เดือน ๗ ใต้ เดือน ๙ เหนือ (เ)หลือใจว่าเจ็บแอวแลนายเหย ยังมีพ่อเฒ่ามะกับลูกใภ้ ก็พากันอุบายโขงขวายหามายัง โปฏกํ ยังใบลานมาจ้างหนานมูรสร้างยัง(หนัง)สือนกแลคำไว้ค้ำชูพุทธศาสนาโคตมเจ้าตราบเท่าเข้าสู่พระนิพฺพาน ปจฺจโย โหตุ นิ(จฺจํ ธุวํ ธุวํ)
บัวรมบัวเรียวบัวรอง ผูกต้น (RBR003-126). (2564). สืบค้น 06 กุมภาพันธ์ 2568. จาก ฐานข้อมูลเอกสารโบราณภูมิภาคตะวันตกในประเทศไทย. http://manuscripts.sac.or.th/manuscript-info.php?id=514
บัวรมบัวเรียวบัวรอง ผูกต้น (RBR003-126). [ออนไลน์]. เข้าถึงจาก : http://manuscripts.sac.or.th/manuscript-info.php?id=514. (วันที่ค้นข้อมูล : 06 กุมภาพันธ์ 2568)
บัวรมบัวเรียวบัวรอง ผูกต้น (RBR003-126). สืบค้นเมื่อ 06 กุมภาพันธ์ 2568. http://manuscripts.sac.or.th/manuscript-info.php?id=514