RBR_003_252-261 รวมอยู่ใน “เลขที่ 144 มหาวงศ์ อักษรธรรมล้านนา ภาษาบาลี-ไทยล้านนา ฉบับทองทึบ 10 ผูก” หน้าต้น ระบุ “๚ หน้าต้น มหาวงศ์ ผูกถ้วน ๗ แล เจ้าเหย ตัว[บ่]ใคร่ละเอียดเต็มทีเทอะ” (ตัวเอียงไม่ลงหมึก) ท้ายลาน ระบุ “สุชนปสาทสงฺเวคฺคตฺถายกเต มหาวงฺเสปริจฺเจท อันถ้วนสิบ๙ ชื่อว่า มหาโพธิมนปริจฺเจท อันมีในคัมภีร์มหาวงศ์ปกรณ อัน[อา]จารย์แต่งแปลงไว้เพื่อหื้อบังเกิดประสาทะศรัทธาใสยินดีในศาสนาแล เพื่อบังเกิดสังเวคญาณอันหมายคล่ายในวัฏสงสารแก่โสตุชนสัปปุริสะทั้งหลายก็สมเร็จเสด็จบรมวลเป็นห้องเท่านี้ก่อนและ ๚ บริบูรณ์ ยามแลง เดือน ๙ ออกใหม่ ๕ ค่ำ พร่ำว่าได้[วัน] ๕ ปีวอก ยามนั้นแล เจ้าเหย อายุ วณฺโณ สุขํ พลํ ดั่งนี้แด่เทอะ” หน้าปลาย ระบุ “ฯ หน้ารับปลาย มหาวงศ์ ผูกถ้วน ๗ บริบูรณ์แล้ว ยามกองแลงแล” วันเวลาจารเสร็จ สันนิษฐานว่า ตรงกับวันพฤหัสบดี ขึ้น ๕ ค่ำ เดือนเก้า(๙) ปีวอก หรือวันที่ 19 สิงหาคม พ.ศ.2463
RBR_003_252-261 รวมอยู่ใน “เลขที่ 144 มหาวงศ์ อักษรธรรมล้านนา ภาษาบาลี-ไทยล้านนา ฉบับทองทึบ 10 ผูก” ท้ายลาน ระบุ “กล่าวห้องมหาวงศ์ ผูกถ้วน ๘ ก็เสด็จแล้วเท่านี้ เป็นห้อง ๑ ก่อนแล ฯ ปริปุณณาแล้ว จลอนว่าผิดเพี้ยนเปลี่ยนอักษรกลอนคำธรรมพระพุทธเจ้า สาธุ ใส่แปลงหื้อทานข้าเจ้าภ่องเทอะ อายุ วณฺโณ สุขํ ดั่งนี้แด่เทอะ” หน้าปลาย ระบุ “ฯฯ หน้าปลาย มหาวงศ์ ผูกถ้วน ๘ บ่ใคร่ละเอียดเต็มทีเนอ คล่องแล้ว” / เขียนอักษรไทย ด้วยปากกาลูกลื่นสีแดง “ผูกที่ ๘” / เขียนอักษรไทยด้วยปากกาเมจิกสีน้ำเงิน “มะหาวงฺผุก ๘ วัดดอนแจ่ง”
RBR_003_252-261 รวมอยู่ใน “เลขที่ 144 มหาวงศ์ อักษรธรรมล้านนา ภาษาบาลี-ไทยล้านนา ฉบับทองทึบ 10 ผูก” หน้าต้น ระบุ “ฯฯ หน้าต้น มหาวงศ์ ผูกถ้วน ๙ แลเจ้าเหย ตัวบ่ใคร่ละเอียดเต็มที ฯฯ ท่องแล้ว” (ตัวเอียงไม่ลงหมึก) / เขียนอักษรไทย ด้วยปากกาลูกลื่นสีแดง “ผูกที่ ๙”และสีน้ำเงิน “มหาวงค์ ผูกที่ ๙” / เขียนอักษรไทยด้วยปากกาเมจิกสีน้ำเงิน “มะหาวงฺผุก ๙ วัดดอนแจ่ง” ท้ายลาน ระบุ “มหาวงศ์ปรณ ผูกถ้วน ๙ ก็สมเร็จบรมวลเป็นห้อง ๑ ก่อนแล ฯ บริบุณณาแล้ว ยามบ่าย ๑ โมง เดือน ๑๑ วันพุธ ออกใหม่ ๓ ค่ำ ยามนั้นแล นิพฺพาน ปจฺจยฺโย โหนฺตุ เม นิจฺจํ ดั่งนี้แด่เทอะ ฯฯะ๛” หน้าปลาย ระบุ “ฯ มหาวงศ์ ผูกถ้วน ๙ ตัวอักษรก็บ่ใคร่เลางามปานใดแล นายเหย ท่องแล้วทานแล้ว” (ตัวเอียงไม่ลงหมึก)
RBR_003_252-261 รวมอยู่ใน อยู่ใน “เลขที่ 144 มหาวงศ์ อักษรธรรมล้านนา ภาษาบาลี-ไทยล้านนา ฉบับทองทึบ 10 ผูก” หน้าต้น ระบุ “๏ หน้าทับเค้า มหาวงศ์ ผูกถ้วน ๑๐ มีอยู่สิบผูกกับด้วยกันแล” / เขียนอักษรไทย ด้วยปากกาลูกลื่นสีแดง “ผูกที่ ๑๐”และสีน้ำเงิน “มหาวงค์ ผูกที่ ๑๐” / เขียนอักษรไทยด้วยปากกาเมจิกสีน้ำเงิน “มะหาวงฺผุก ๑๐ วัดดอนแจ่ง” ท้ายลาน ระบุ “กริยาอันเทศนามหาวงศ์ผูกถ้วนสิบ ก็สมเร็จเสด็จบรมวลด้วยประการดั่งนี้เป็นห้องก่อนและ ฯ เจ้าเหย” หน้าปลาย ระบุ “๚ หน้าปลายมหาวงศ์ ผูกถ้วนสิบแล เจ้าเหยตัวบ่ใคร่งามเต็มทีเนอ คล่องแล้วตามสบับ” (ตัวเอียงไม่ลงหมึก)
ท้ายลาน ระบุ “บ่ดีสักหน้อยแล ปทุมฺมานาฏนอนแX ได้ยินคำเดหูขดมาชู ไขปากตู หื้อเข้าปลายมือสาวกับปลายเจ้า จุฬาเหยกันไป” / เขียนอักษรไทย ด้วยปากกาลูกลื่นสีน้ำเงิน “สอนเจ้าสุวัต”