เอกสารโบราณ

คำประพันธ์ : ร้อยแก้ว

พบผลลัพธ์ทั้งหมด 1,277 รายการ (142 หน้า)

RBR003-210 ก่ำกาดำ ผูกปลาย

ธรรมคดี
ไทยวน , เชียงแสน , ล้านนา , ราชบุรี , วรรณกรรมพื้นบ้าน , ชาดก , ก่ำกาดำ , พิมพาขะนุ่นงิ้ว

RBR_003_201-211 รวมกันอยู่ใน “เลขที่ 47 กล่ำกาดำ อักษรธรรมล้านนา ภาษาบาลี-ไทยล้านนา ฉบับทองทึบ 11 ผูก” RBR_209-2010 เป็นชุดเดียวกัน หน้าทับต้น เขียนอักษรไทยด้วยปากกาลูกลื่นสีแดง “กำกาดำผูกปาย”, เขียนอักษรไทยด้วยปากกาลูกลื่นสีน้ำเงิน “เขียนจบเมื่อบ่าย ๒ โมง ปีมะเสง เดือน ๑๑ ขึ้น ๙ ค่ำ วันเสาร์ ศักราชได้ ๒๔๔๘ พรรษา” หน้ารอง หน้าทับ เขียนอักษรไทยด้วยดินสอดำ “นายทองบ้านหนองขามเรียนที ๑ แล้ว ๚ เข้าโรงเรียนอยู่ชั้นป ๑” ท้ายลาน ระบุ “กิริยาอันสังวรรณนา พิมพาขะนุ่นงิ้วชาตก มาเถิง จุตฺตถํ นิฏฺฐิตํ ก็สมเร็จเสด็จแล้วเท่านี้ก่อนแล๛ บริบูรณ์เสด็จแล้ว บ่าย ๒ โมง ปีมะเส็ง เดือน สิบเอ็ด ขึ้น ๙ ค่ำ พร่ำวันเสาร์ ปางเมื่อ ศักราชได้ ๒ พัน ๔ ร้อย ๔ สิบ ๘ วัสสา (ตรงกับวันเสาร์ที่ 7 ขึ้น 9 ค่ำ เดือนตุลาคม พ.ศ. 2448 ปีมะเส็ง) ยังมีศรัทธาคุณตัวะหาได้ยังใบลานมาหื้อข้าน้อยผู้ชื่อว่า รัสสภิกขุธรรมสอน เขียนปางเมื่ออยู่วัดบ้านกุด เพื่อจักสร้างไว้ค้ำชูศาสนา ๕ พันวัสสา โคตมเจ้าเตชะ ข้าได้เขียนหื้อปัญญาเหมือนเจ้ามโหสถ ขอหื้อข้าได้เถิงโสดาสกิทาคา อนาคา อรหันตาเจ้า เข้าสู่นิพพานเป็นที่แล้วเทอะ นิพฺพาน ปจฺจโย โหตุ เม นิจฺจํ ธุวํ แด่เทอะ ฯ บ่งามไหน หลายเป็นตาดีอายเพิ่นแท้เด ตัวใหญ่ก็ใหญ่ ตัวน้อยก็น้อย เหมือนแย้น้อยเขี่ยเถ้าหนทาง บ่เคยสักคำเทื่อแลเจ้าเหย อยากได้บุญเต็มที ตกที่ใดใส่หื้อจิ่มเทอะ ทุพี่พระพี่เหย ดูหื้อถี่เทอะ อย่าไปใคร่หัวขวัญข้าเนอ อย่าไปเหอะข้าเนอ ใจข้าบ่ดี สติบ่ตั้ง เป็นตาดีอาย ทุพี่ ตัวะ แท้เด ทุพี่ ตัวะ เหย ไปใคร่หัวขวัญเนอ ๛” มีรอยแก้ไขด้วยปากกาลูกลื่นสีน้ำเงินและดินสอดำ

RBR003-211 ก่ำกาดำ ผูกต้น

ธรรมคดี
ไทยวน , เชียงแสน , ล้านนา , ราชบุรี , วรรณกรรมพื้นบ้าน , ชาดก , ก่ำกาดำ , พิมพาขะนุ่นงิ้ว

RBR_003_201-211 รวมกันอยู่ใน “เลขที่ 47 กล่ำกาดำ อักษรธรรมล้านนา ภาษาบาลี-ไทยล้านนา ฉบับทองทึบ 11 ผูก” RBR_211-212 อาจเป็นชุดเดียวกัน หน้าทับต้น ระบุ “๏ หน้าทับเค้าพิมพาขะนุ่นงิ้วผูกต้นแลนายเหยม่วนอาละ ฯฯ๛” และเขียนอักษรไทยด้วยปากกาสีน้ำเงิน “กล่ำกาดำผูก ๑” ลานแรก ด้านซ้ายมือ ระบุ “พิมพานุ่นงิ้วผูกต้นแล หนองบัว” ท้ายลาน ระบุ “พิมฺพาสิมฺพลียํ ปฐม กิริยาอันสังวรรณนายังพิมพาขะนุ่นงิ้วผูกต้น ก็แล้วเท่านี้ก่อนแล ๛ บริบูรณ์เสด็จแล้วปีจอ ยอซกตกอยู่ในระดูเดือนสิบเบ็ด ขึ้น ๕ ค่ำ พร่ำว่าได้วันเสาร์แล นายเหย รัสสภิกขุธอง บ้านใหญ่ปาน เพราะว่าอยากได้กุศลนาบุญเต็มที ขอหื้อได้เหมือนคำนึกคำปรารถนาแด่เทอะ เขียนบ่งามสักน้อย ตัวที่ใหญ่ก็ใหญ่ ที่น้อยก็น้อย ที่ตกก็ตก คันว่าผู้ใดได้เราได้อ่านก็พิจารณาดูหื้อถี่เทอะ เพราะบ่เคยเขียน หัดเขียนใหม่แลนายเหย อย่าไปด่าข้าเนอ เพราะใคร่ได้คำแก้เปรสนาปัญหาเหมือนดังพิมพาขะนุ่นงิ้วบอกปัญหาหื้อเจ้าก่ำกาดำนั้นแลนายเหย ๛ มี ๔ ผูกกับกันแลนายเหย

RBR003-212 ก่ำกาดำ ผูก 3

ธรรมคดี
ไทยวน , เชียงแสน , ล้านนา , ราชบุรี , วรรณกรรมพื้นบ้าน , ชาดก , ก่ำกาดำ , พิมพาขะนุ่นงิ้ว

RBR_003_201-211 รวมกันอยู่ใน “เลขที่ 47 กล่ำกาดำ อักษรธรรมล้านนา ภาษาบาลี-ไทยล้านนา ฉบับทองทึบ 11 ผูก” RBR_211-212 เป็นชุดเดียวกัน หน้าทับต้น ระบุ “พิมพานุ่นงิ้วผูก ๓ มี ๔ ผูกกับกันหนังสือวัดหนองบัวแล”, เขียนอักษรไทยด้วยปากกาเมจิกสีน้ำเงิน “กล่ำกาดำผูก ๓” ลานแรก ด้านซ้ายมือ ระบุ “พิมพานุ่นงิ้ว ผูก ๓ ” ท้ายลาน ระบุ “สังวรรณนายังพิมพาขะนุ่นงิ้วผูกถ้วน ๓ ก็สมเร็จเสด็จแล้วเท่านี้ก่อนแล ฯฯ๛ มี ๔ ผูกกับกัน

RBR003-214 ก่ำกาดำ ผูกต้น

ธรรมคดี
ไทยวน , เชียงแสน , ล้านนา , ราชบุรี , วรรณกรรมพื้นบ้าน , ชาดก , ก่ำกาดำ , พิมพาขะนุ่นงิ้ว

RBR_003_213-215 รวมกันอยู่ใน “เลขที่ ๕๖ กล่ำกาดำ อักษรธรรมล้านนา ภาษาบาลี-ไทยล้านนา ฉบับล่องชาด-ลานดิบ” พบเพียง ๓ ผูก หน้าทับต้น ระบุ “กาก ๏ พิมพานุ่นงิ้วผูกต้นแล๛” / เขียนอักษรไทยด้วยปากกาลูกลื่นสีน้ำเงิน “ก่ำกาดำผูกที่ ๑” / ด้านหลัง ระบุ “ทุพี่ กขคฅงจสชซยตถทธนปผพภม” หน้ารอง หน้าทับต้น ระบุ “หน้าทับเค้าหนังสือก่ำกาดำแลนายเหย รัสสภิกขุธอง บานไลยหนา ๓ นายท่านทั้งหลาย” / ลานแรก ด้านซ้ายมือ ระบุ “ก่ำกาดำผูกต้นแล” ท้ายลาน ระบุ “พิมฺพาสิมฺพลียํ ปฐมํ นิฏฺฐตํ กิริยาสังวรรณนาพิมพาขะนุ่นงิ้วผูกต้น ก็บังคมสมเร็จเสด็จแล้วเท่านี้ก่อนแล ๛ เขียนพิมพาขะนุ่นงิ้วผูกต้น ๛ แล้ววันเสาร์ ยามใกล้ค่ำแลนายเหย ๛ รัสสภิกขุภิกขุธอง เขียนหนังสือผูกนี้ ขอส่วนบุญไปรอดไปเถิงบิดามารดาข้าจิ่มเทอะ กับตัวข้าจิ่มเทอะ กับครูบาอาจารย์ข้าจิ่มเทอะ ๛ จบ ธุวํ ธุวํ แล แล แล แล แล ฐ ฐ ฐ ฐ ๓ ๓ ๓” และ “ข้าเกิดมาชาติใดแส็นใด ขอหื้อมีสติปัญ[ญา]คุชาติเทอะ ๛”

RBR003-216 หอยสังข์ ผูกต้น

ธรรมคดี
ไทยวน , เชียงแสน , ล้านนา , ราชบุรี , วรรณกรรมพื้นบ้าน , ชาดก , หอยสังข์ , สุวรรณหอยสังข์ , สุวรรณสังข์

RBR_003_216-222 รวมกันอยู่ใน “เลขที่ 35 สุวรรณหอยสังข์ อักษรธรรมล้านนา ภาษาบาลี-ไทยล้านนา ฉบับล่องชาด 7 ผูก” มีไม้บัญชักทำด้วยไม้ไผ่ เขียนอักษรไทยด้วยปากกาเมจิกสีน้ำเงิน “เรื่องหอยสังข์มี 6 ผูก” RBR_216-217 เป็นชุดเดียวกัน หน้าทับต้น เขียนอักษรไทยด้วยปากกาลูกลื่นสีน้ำเงิน “หอยสังผูกที่ ๑” “มี ๖ ผูกกับกัน” และเขียนอักษรไทยด้วยดินสอดำ “นายเรียน เรียนที ๑ แล้ว บ้านดอนชาติ”(ดอนชาก) /ด้านหลัง เขียนอักษรไทยด้วยดินสอดำ “อ่านออกแล้วหนา” หน้ารอง หน้าทับต้น จารไม่ลงหมึก “นายทองอยู่ มันเรียนที หนึ่งแล้ว” ลานแรก ด้านซ้ายมือ ระบุ “ผูกต้น หอยสังข์” ท้ายลาน ระบุ “สุวณฺณสงฺขราชาชาตกํ นิฏฺฐิตํ กิริยาอันกล่าวยังสุวรรณสังขราชชาผูกต้น ก็เสด็จบอระมวลเท่านี้ก่อนแลนา ฯ อย่าไปด่าผมเนอขุนท้าวเหย รางตัวก็ใหญ่ ” หน้าทับปลาย เขียนอักษรธรรมล้านนาด้วยดินสอ ระบุ “ผูกต้นวัดคอนบ้าน หอยสังข์ผูกต้น” มีรอยแก้ไขด้วยดินสอดำ

RBR003-220 หอยสังข์ ผูก 6

ธรรมคดี
ไทยวน , เชียงแสน , ล้านนา , ราชบุรี , วรรณกรรมพื้นบ้าน , ชาดก , หอยสังข์ , สุวรรณหอยสังข์ , สุวรรณสังข์

RBR_003_216-222 รวมกันอยู่ใน “เลขที่ 35 สุวรรณหอยสังข์ อักษรธรรมล้านนา ภาษาบาลี-ไทยล้านนา ฉบับล่องชาด 7 ผูก” มีไม้บัญชักทำด้วยไม้ไผ่ เขียนอักษรไทยด้วยปากกาเมจิกสีน้ำเงิน “เรื่องหอยสังข์มี 6 ผูก” หน้าทับต้น ระบุ “ฯ หน้าทับเค้าชาดกผูก ๖ ฯะ๛” เขียนอักษรไทยด้วยปากกาลูกลื่นสีน้ำเงิน “หอยสังข์ ผูก ๖ ปลายหมู่” ท้ายลาน ระบุ “สุวณฺณสงฺขราชชาตกํ นิฏฺฐฺตํ แล || รัสสภิกขุปัญญาเขียนอยู่วัดเกาะแก้วกลาง ๛” มีรอยแก้ไขด้วยปากกาลูกลื่นสีแดง

RBR003-221 หอยสังข์ ผูก 6

ธรรมคดี
ไทยวน , เชียงแสน , ล้านนา , ราชบุรี , วรรณกรรมพื้นบ้าน , ชาดก , หอยสังข์ , สุวรรณหอยสังข์ , สุวรรณสังข์

RBR_003_216-222 รวมกันอยู่ใน “เลขที่ 35 สุวรรณหอยสังข์ อักษรธรรมล้านนา ภาษาบาลี-ไทยล้านนา ฉบับล่องชาด 7 ผูก” มีไม้บัญชักทำด้วยไม้ไผ่ เขียนอักษรไทยด้วยปากกาเมจิกสีน้ำเงิน “เรื่องหอยสังข์มี 6 ผูก” หน้าทับต้น ระบุ “หน้าทับเค้าสุวรรณหอยสังข์ ผูกถ้วน ๖ หมดกันเท่าอี้แลนาย” เขียนอักษรไทยด้วยปากกาลูกลื่นสีแดง “หอยสังผูก ๖ ปลายหมู่” มีรอยแก้ไขด้วยดินสอ

RBR003-225 พระยาสี่เสาร์ ผูก 3

ธรรมคดี
ไทยวน , เชียงแสน , ล้านนา , ราชบุรี , วรรณกรรมพื้นบ้าน , ชาดก , พระยาสี่เสาร์ , โหราศาสตร์

RBR_003_223-233 รวมกันอยู่ใน “เลขที่ 48 พระยาสี่เสา ผูก 1-3 อักษรธรรมล้านนา ภาษาบาลี-ไทยล้านนา ฉบับล่องชาด ทองทึบ 11 ผูก” ไม่มีไม้ประกับ ไม้บัญชักทำด้วยไม้ไผ่ เขียนอักษรไทยด้วยปากกาเมจิกสีน้ำเงิน “พระยาสี่เสา มี 6 ผูก” หน้าทับต้น เขียนอักษรไทยด้วยปากกาลูกลื่นสีน้ำเงิน “พญาสีเส้าผุกที่๓” ลานแรก ด้านซ้ายมือ ระบุ “ผูกถ้วน ๓ พระยาสี่เสา” ท้ายลาน ระบุ “กิริยาอันกล่าวจายังพระยาสี่เสา ผูกถ้วน ๓ ก็แล้วเท่านี้ก่อนแล || เสด็จแล้วยามค่ำ เดือน ๙ กลางเดือนแลนายเหย เดือน ๙ กลางเดือน จบวันเสาร์ นายเหย ตัวบ่ดีบ่งามสักน้อยนายเหย รัสสภิกขุธรรมสอน ยังหาใบลานมาเขียนแลนายเหย ทุพี่พระพี่ ค่อยพิจารณาดูเทอะ ทุพี่พระพี่เหยใคร่ได้บุญเต็มทีเจ้าเหย”

RBR003-226 พระยาสี่เสาร์ ผูกต้น

ธรรมคดี
ไทยวน , เชียงแสน , ล้านนา , ราชบุรี , วรรณกรรมพื้นบ้าน , ชาดก , พระยาสี่เสาร์ , โหราศาสตร์

RBR_003_223-233 รวมกันอยู่ใน “เลขที่ 48 พระยาสี่เสา ผูก 1-3 อักษรธรรมล้านนา ภาษาบาลี-ไทยล้านนา ฉบับล่องชาด ทองทึบ 11 ผูก” ไม่มีไม้ประกับ ไม้บัญชักทำด้วยไม้ไผ่ เขียนอักษรไทยด้วยปากกาเมจิกสีน้ำเงิน “พระยาสี่เสา มี 6 ผูก” / RBR_003_226-228 ชุดเดียวกัน ทองทึบ ทองหลุด พื้นชาด หน้าทับต้น ระบุ “หน้าทับเค้าหนังสือพระยาสี่เสา ผูกต้น แลนายเหย ฯ๛ ฯ๛มีกับกัน ๓ ผูก นี้ผูกต้นบ่ได้อยู่ ฯ๛ ๛ ฯ๛” / เขียนอักษรไทยด้วยปากกาลูกลื่นสีดำ “พญาสี่เสาผูกที่๑” ท้ายลาน ระบุ “สํวณฺณนา กล่าวห้องพระยาสี่เสาผูกต้น ก็บังคมสมเร็จเสด็จแล้วเท่านี้ก่อนแล ฯ๛๛๛๛๛๛ เสด็จแล้วเดือน ๙ แรม ๕ วันจันทร์ ปีชวดแลนายเหย อย่าไปติข้าเนอ ยังบ่สนัดเทื่อ” มีรอยแก้ไขด้วยดินสอดำ