ท้ายลาน ระบุ “กฐิน[นิ]ทานํ กริยาอันกล่าวยังห้องผลอานิสงส์อันบุคคลหญิงชายทั้งหลาย อันหื้อผ้ามหากฐินเป็นทานก็บังคมสมเร็จเสด็จบรมวลควรแก่การเท่านี้ก่อนแลนายเหย ขอหื้อผญาปัญญาสลอดเสลียว ทุกชาตินั้นเทอะ ทุพี่ฅายฮักสาวบ้านดอนทันแท้แล แล้วฮักสาวนาหนองอีกคน ๑ วันนี้ก็เป็นวันดีแล้ว ยังสาวหูมน้อยๆ คน มะจนจันเขางัวตะภายเฅงเกงเดงเด ๛ มะ อะ อุ อุ อะ มะ ทุกคนทั้งบิดดามารดา สุข ๓ ผะการ” หน้าปลาย ระบุ “๏ ๚ ยังมีโยมกิ่งกับโยมมี อยู่บ้านดอนชาด มีศรัทธาสร้างหนังสือ อานิสงส์กฐิน ไว้กับศาสนา ขอบุญอันนี้ ติดตามไปคู่ชาติจิ่มเทอะ ทุพี่ ฅลย พึ่งหัดเขียนใหม่ อย่าว่าเพิ่นเนอ อยากได้ได้บุญเต็มทีนายเหย” / ด้านหลัง เขียนอักษรไทยด้วย ปากกาลูกลื่นสีแดง “อานิสงส์ผ้าป่า”
วรรณกรรมชาดก เวสสันดร ผูก 9 ตอน กุมาร
วรรณกรรมชาดก เวสสันดร ผูก 4 ตอน หิมพานต์
หนังสือพระสูตร เมตไตรยสูตร ผูก 3 มีทั้งหมด 3 ผูก
หน้าต้น เขียนอักษรไทย ด้วยปากกาลูกลื่นสีน้ำเงิน “เต่าน้อยอองคำ” หน้าปลาย เขียนอักษรไทย ด้วยปากกาลูกลื่นสีแดง “เต่าน้อยอองคำ”
หน้าต้น ระบุ “๚ หน้าทับเค้า ชื่อว่า เต่าน้อยอองคำ ฯ๛” หน้ารอง หน้าต้น ระบุ “ หน้าทับเค้า ชื่อว่า เต่าน้อยอองคำแล นางอุทธรา เพิ่นก็ว่า ฯฯ๛ ๚ ชื่อว่า ภิกขุธรรมสอนสร้างแล ๚ฯฯ๛” / เขียนอักษรไทย ด้วยปากกาลูกลื่นสีแดง “เต่าน้อยอองคำ”
การทำสำเนาดิจิทัลเอกสารโบราณฉบับนี้ ฐานข้อมูลเอกสารโบราณฯ จะถ่ายเรียงหน้าแบบตัวต้นฉบับสมุดไทย เพื่อให้ผู้ใช้ได้เห็นถึงสภาพของตัวเอกสารและการเขียนจริงๆ ของเอกสารโบราณเล่มนั้นๆ เสมือนกัทบผู้อ่านได้เปิดดูจากตัวเล่มสมุดไทย จึงไม่ได้มีการกลับภาพเอกสารโบราณ
หน้าต้น เขียนอักษรไทย ด้วยปากกาสีน้ำเงิน “หนังสือสืบจะตาบ้านเมือง” หน้ารอง เขียนอักษรไทย ด้วยดินสอ “นายเธิง” ท้ายลาน ระบุ “สฬากริวิชฺชาสุตฺตํ นิฏฺฐิตํ กริยาสังวรรณนาอันแก้ไขยังสฬากริวิชชาสูตร อันมีในทิพมนต์ผูกเดียว ก็สมเร็จเสด็จบรมวลควรแก้ไขในกาลเท่านี้ก่อนแล ฯ ฯ ๛ นายเหย ฯ”
หน้าต้น จารเป็นอักษรไทย ระบุ “หนังสีือจักกัณวุตติปาปะสูตรว่าเรื่องรักษาศีล” ลานแรก หัวลาน ระบุ “จักกัณ[วุ]ตติปาปสูต ผูกโทน” ท้ายลาน ระบุ “กริยาอันกล่าวยัง จกฺกณวุตฺติปาปสุตฺตํ นิฏฺฐิตํ ก็สมเร็จเสด็จแล้วเท่านี้ก่อนแแล ฯฯ๛ บริบูรณ์แล้ว ı3ı จุลศักราชได้ ๑๒๖๑ ปีกุน เอกศก เดือน ๖ เหนือ เดือน ๔ ใต้ วันจันทร์แล”, “ผู้ข้าได้สร้างหนังสือจักกณวุตติปาปสูตร นี้ไว้ในศาสนาพระโคตมเจ้า ผู้ข้าขอกุศลส่วนบุญอันเกิดด้วยอันข้าได้สร้างเขียนธรรม จุ่งผู้ข้าชื่อหนานวัฒนะ บิตตามาดาญาติกากับลูกเมียข้า หื้อได้เถิง ๓ ประการ มีนิพพานเป็นยอดแด่ นิพฺพาน ปจฺจโย โหตุ นิจฺจํ ธุวํ ๆ” เขียนอักษรไทย ด้วยปากกาลูกลื่นสีน้ำเงิน “สร้างพ.ศ. ๒๔๔๒ ปีกุน สมัย ร.๕”