เอกสารโบราณ

ภาษา : ไทย

พบผลลัพธ์ทั้งหมด 1,154 รายการ (129 หน้า)

BKK001-001 ตำรายา

ตำราเวชศาสตร์
ตำรายา , สมุดไทยดำ , เอกสารโบราณ , วัดหนัง , กรุงเทพ , พิพิธภัณฑ์วัดหนัง , ยารักษาโรค , สมุนไพร

สมุดไทยดำฉบับนี้กล่าวถึงตำรายาต่างๆ เช่น ยาทาแผล ยาไข้จับ ยาบำรุงเลือด ยาทาเส้น ยาแก้ตานขโมย เป็นต้น

NPH001-070 บาลีนาค (บายศรีนาค)

ตำราโหราศาสตร์
หอจดหมายเหตุสาธารณสุขแห่งชาติ , ทองอ่อน สิทธิไกรพงษ์ , เอกสารโบราณ , หมอยา , สู่ขวัญ , เชิญขวัญ , พิธีกรรม , บายศรี , นาค

ทะเบียนของหอจดหมายเหตุสาธารณสุขแห่งชาติ คือ (23) สบ. 23.1.4/70 นายทองอ่อน สิทธิไกรพงษ์ได้มอบให้หอจดหมายเหตุสาธารณสุขแห่งชาติเก็บรักษา

NPH001-069 บาลีนาค (ทำขวัญนาค)

ตำราโหราศาสตร์
หอจดหมายเหตุสาธารณสุขแห่งชาติ , ทองอ่อน สิทธิไกรพงษ์ , เอกสารโบราณ , หมอยา , สู่ขวัญ , เชิญขวัญ , พิธีกรรม

ทะเบียนของหอจดหมายเหตุสาธารณสุขแห่งชาติ คือ (23) สบ. 23.1.4/69 นายทองอ่อน สิทธิไกรพงษ์ได้มอบให้หอจดหมายเหตุสาธารณสุขแห่งชาติเก็บรักษา

NPH001-038 คำสวดกรรมวาจาจารย์ (คำบอกอนุศาสน์)

ธรรมคดี , ปกิณกะ
หอจดหมายเหตุสาธารณสุขแห่งชาติ , ทองอ่อน สิทธิไกรพงษ์ , เอกสารโบราณ , หมอยา

คำสวดกรรมวาจาจารย์ หรือคำบอกอนุศาสน์ คือ คำสั่งสอนในพระพุทธศาสนาที่ให้ปฏิบัติตาม คำว่า บอกอนุศาสน์ ใช้ในความหมายเฉพาะ หมายถึง พระอุปัชฌาย์หรือพระเถระที่พระอุปัชฌาย์มอบหมาย บอกคำสั่งสอนหรือคำชี้แจงให้พระภิกษุที่บวชใหม่ทราบทันที ในตอนท้ายของพิธีอุปสมบท อนุศาสน์ มี 8 ข้อ แบ่งเป็นข้อที่ภิกษุควรประพฤติปฏิบัติ มี 4 ข้อ คือ ออกบิณฑบาต นุ่งห่มผ้าบังสุกุล อยู่โคนต้นไม้ และฉันยาดองด้วยน้ำมูตรเน่า. ส่วนที่พระภิกษุต้องไม่ประพฤติปฏิบัติ มี 4 ข้อ คือ เสพเมถุน ลักของผู้อื่น ฆ่าสัตว์ และพูดอวดคุณพิเศษที่ไม่มีในตน ทั้ง 8 ข้อนี้เรียกว่า อนุศาสน์ ทะเบียนของหอจดหมายเหตุสาธารณสุขแห่งชาติ คือ (23) สบ. 23.1.4/38 นายทองอ่อน สิทธิไกรพงษ์ได้มอบให้หอจดหมายเหตุสาธารณสุขแห่งชาติเก็บรักษา ข้อมูลอ้างอิง บอกอนุศาสน์ (10 พฤศจิกายน 2554) จากเว็บไซต์ http://legacy.orst.go.th/?knowledges=บอกอนุศาสน์-๑๐-พฤศจิกายน

NPH001-035 ตำรายา

ตำราเวชศาสตร์
หอจดหมายเหตุสาธารณสุขแห่งชาติ , ทองอ่อน สิทธิไกรพงษ์ , เอกสารโบราณ , หมอยา

ตำรายา กล่าวถึงยารักษาโรค เช่น ยากะยือ ยาเล็ด ยาแก้ปวดหลัง ยาหมากโหก ยาแก้ไข้ ยาเลือด ยาชุมน้อย ยาแก้ไอ ยาแก้ปวดหลัง ฯลฯ และปรากฏปีที่สร้าง พ.ศ.2536 ทะเบียนของหอจดหมายเหตุสาธารณสุขแห่งชาติ คือ (23) สบ. 23.1.4/35 นายทองอ่อน สิทธิไกรพงษ์ได้มอบให้หอจดหมายเหตุสาธารณสุขแห่งชาติเก็บรักษา หมายเหตุ ใบลานบางแผ่นขาดมีการซ่อมแซมด้วยการติดสก็อตเทป

NPH001-034 ตำรายา

ตำราเวชศาสตร์
หอจดหมายเหตุสาธารณสุขแห่งชาติ , ทองอ่อน สิทธิไกรพงษ์ , เอกสารโบราณ , หมอยา

ตำรายาฉบับนี้กล่าวถึงยารักษาโรคต่างๆ เช่น ยาลงเลือด แก้หมากไม้ แก้ไข้ เป็นต้น ทะเบียนของหอจดหมายเหตุสาธารณสุขแห่งชาติ คือ (23) สบ. 23.1.4/34 นายทองอ่อน สิทธิไกรพงษ์ได้มอบให้หอจดหมายเหตุสาธารณสุขแห่งชาติเก็บรักษา หมายเหตุ ใบลานปนกัน คละผูก

NPH001-033 ตำรายา

ตำราเวชศาสตร์
หอจดหมายเหตุสาธารณสุขแห่งชาติ , ทองอ่อน สิทธิไกรพงษ์ , เอกสารโบราณ , หมอยา

ตำรายาฉบับนี้ กล่าวถึงยารักษาโรคต่างๆ เช่น ยาสารพัดซาง แก้ซาง แก้ฝีในท้อง ยาแก้ลม ยาทาฟก ยารมฟก ยาไข้พรา ฯลฯ ทะเบียนของหอจดหมายเหตุสาธารณสุขแห่งชาติ คือ (23) สบ. 23.1.4/33 นายทองอ่อน สิทธิไกรพงษ์ได้มอบให้หอจดหมายเหตุสาธารณสุขแห่งชาติเก็บรักษา

NPH001-032 ตำรายาของพี่อ้ายเซียงลี

ตำราเวชศาสตร์
หอจดหมายเหตุสาธารณสุขแห่งชาติ , ทองอ่อน สิทธิไกรพงษ์ , เอกสารโบราณ , หมอยา

ตำรายาของพี่อ้ายเซียงลี กล่าวถึงตำรับยา อาทิ ยาออกปานแดง ดำ ด่าง ยาชุม ฯลฯ ต่าง ๆ โดยมีการระบุเจ้าของเอกสารโบราณว่าเป็นของ นายเซียงลี บ้านแสนตอ อ.สว่างแดนดิน จ.สกลนคร ทะเบียนของหอจดหมายเหตุสาธารณสุขแห่งชาติ คือ (23) สบ. 23.1.4/32 นายทองอ่อน สิทธิไกรพงษ์ได้มอบให้หอจดหมายเหตุสาธารณสุขแห่งชาติเก็บรักษา หมายเหตุ มีใบลาน 2 ขนาด คาดว่ามาจากคนละผูก

NPH001-031 ตำรายาท่านสองหลาบบ้านกงเก่า

ตำราเวชศาสตร์
หอจดหมายเหตุสาธารณสุขแห่งชาติ , ทองอ่อน สิทธิไกรพงษ์ , เอกสารโบราณ , หมอยา

ตำรายาฉบับนี้กล่าวถึงโรคและตำรับยาสำหรับรักษาโรค อาทิ ยางูตอด ยาซะดวง ยาคันทะมาลา ยามะเร็งกระดูก ยาคางเข้ากับ ยาแก้ปานดำปานแดง ยาเทรียดไฟ ยาลวงแก้ว ยาลมนอก ยาแก้พิษ ยาเหือดจม ยาฝน ยาทา ยาตุม ยาลงคาง ยาเป่า ยาเส้นเอ็นทั้งมวล ยาแก้ลมทั้งมวล ยาลงท้อง ยาฝีหัวอ่อน ยาฝนทาฝี ยาไข้ตีนกำมือกำ เป็นต้น ตำรับยารักษาโรคที่ปรกฏในหนังสือ ตัวอย่างเช่น ยาลวงแก้ว เอารากบัวหลวง รากพร้าว รากตาล รากหญ้าคา รากหญ้าปากควาย หญ้าแห้วหมู เอาข้าวเจ้า อ้อยดำ ถั่วซะแดด มาตำดอมกันแช่ปั้นเอาสะแพงน้ำนมแฟง ๑ ประสมกับน้ำยาผงคาน้ำใส่เดินตัดกินดีแล หน้าสุดท้ายมีข้อความเขียนว่า “ไผยืมไปอย่าอำเอาเทินบีดีแล” ทะเบียนของหอจดหมายเหตุสาธารณสุขแห่งชาติ คือ (23) สบ. 23.1.4/31 นายทองอ่อน สิทธิไกรพงษ์ได้มอบให้หอจดหมายเหตุสาธารณสุขแห่งชาติเก็บรักษา หมายเหตุ ใบลาน 2 อักษร และขนาดใบลานต่างกัน คาดว่ามาจากคนละผูก