หน้าปลายเป็นหน้าเปล่าทั้งหมด
คำว่า “แจง” แปลว่า ขยายความ กระจายความ ใช้เรียกการเทศน์สังคายนาหรือเทศน์สอบทานพระธรรมวินัยโดยเฉพาะในการทำสังคายนาครั้งที่ 1 นิยมเรียกการเทศน์ในลักษณะนี้ว่า “เทศน์แจง” ดังนั้น “การเทศน์แจง” คือการเทศน์เรื่องการทำสังคายนาครั้งแรกในพระพุทธศาสนา เนื้อหาของการเทศน์แจงคือขยายความข้อธรรมและข้อวินัยในพระธรรมปิฎกโดยย่อพอให้เป็นกริยาบุญ นิยมเทศน์ในงานศพของผู้ใหญ่ โดยถือว่าการเทศน์แจงเป็นบุญใหญ่ เป็นการรักษาพระธรรมวินัยไว้ เป็นการเลียนแบบการทำสังคายนาครั้งแรก ซึ่งมีผลทำให้รักษาพระพุทธศาสนาไว้ได้ตราบเท่าทุกวันนี้ “การสวดแจง” ก็คือการสวดสาธยายพระวินัย พระสูตรและพระอภิธรรมโดยย่อโดยนิยมสวดในงานฌาปนกิจ อ้างอิง เทศน์แจง-สวดแจง. ข้อมูลจาก https://cybervanaram.net/index.php?option=com_content&view=article&id=776:2012-06-29-02-30-52&catid=5:2009-12-17-14-44-06&Itemid=14 ภาพประกอบ : หน้าปกลงรักปิดทองลายดอกพิกุล ภาพวาดลงสีสวยงาม รหัสเอกสารเดิม : เลขทะเบียนเดิม 27
ต้นฉบับเขียนว่า “ศุรามศุ 1166 มุสิกะสังวัจฉะระมาฆะมาศ” เลขทะเบียนเดิม 33 กฏหมาย
ทะเบียนเดิม 109 มนต์เสน่ห์
ทะเบียนเดิม 72 ตำราหมอดู ตำราหมอดู รูปภาพลงสีสวยงาม
ในหน้ารองสุดท้ายของพับสา ระบุว่า “ข้าพเจ้าพระกาซเรอยู่บ้านเมืองฅอน เป็นผู้เขียนธรรมไว้กับศาสนาพระเจ้า” ศักราช จ.ศ. 1285 (พ.ศ. 2466) สภาพของเอกสาร ห่อกระดาษสาบาง ปกและขอบพับทาสีแดง เขียนด้วยหมึกสีดำ รหัสเอกสารเดิม LPR. 733/2544 ที่มาเอกสาร ดร.อนาโตล เป็ลติเยร์มอบให้