เรื่องนี้ระบุผู้แต่งว่าเป็น อาจารย์หมอคลาย บ้านเกาะเกร็ด
คำว่า “แจง” แปลว่า ขยายความ กระจายความ ใช้เรียกการเทศน์สังคายนาหรือเทศน์สอบทานพระธรรมวินัยโดยเฉพาะในการทำสังคายนาครั้งที่ 1 นิยมเรียกการเทศน์ในลักษณะนี้ว่า “เทศน์แจง” ดังนั้น “การเทศน์แจง” คือการเทศน์เรื่องการทำสังคายนาครั้งแรกในพระพุทธศาสนา เนื้อหาของการเทศน์แจงคือขยายความข้อธรรมและข้อวินัยในพระธรรมปิฎกโดยย่อพอให้เป็นกริยาบุญ นิยมเทศน์ในงานศพของผู้ใหญ่ โดยถือว่าการเทศน์แจงเป็นบุญใหญ่ เป็นการรักษาพระธรรมวินัยไว้ เป็นการเลียนแบบการทำสังคายนาครั้งแรก ซึ่งมีผลทำให้รักษาพระพุทธศาสนาไว้ได้ตราบเท่าทุกวันนี้ “การสวดแจง” ก็คือการสวดสาธยายพระวินัย พระสูตรและพระอภิธรรมโดยย่อโดยนิยมสวดในงานฌาปนกิจ อ้างอิง เทศน์แจง-สวดแจง. ข้อมูลจาก https://cybervanaram.net/index.php?option=com_content&view=article&id=776:2012-06-29-02-30-52&catid=5:2009-12-17-14-44-06&Itemid=14 ภาพประกอบ : หน้าปกลงรักปิดทองลายดอกพิกุล ภาพวาดลงสีสวยงาม รหัสเอกสารเดิม : เลขทะเบียนเดิม 27
ทะเบียนเดิม 109 มนต์เสน่ห์
เลขทะเบียนเดิม 1 กฏหมาย
ตจปญฺจกกมฺมฏฐานกถา (อุปัชฌาชย์สอนนาค) ภาพวาดเทวดาในกิริยาท่าทางต่าง ๆ จำนวน 2 หน้าลาน หอสมุดแห่งชาติให้เลขทะเบียนที่ 468/1
ทะเบียนเดิม 72 ตำราหมอดู ตำราหมอดู รูปภาพลงสีสวยงาม
หน้าปลายกลับหัว
กัมมัฏฐานที่ทำให้ผู้เจริญเห็นความไม่เที่ยง เป็นทุกข์ และไม่ใช่ตัวตนประจักษ์ ดังนั้นอารมณ์ของวิปัสสนา จึงต้องมีการเกิดขึ้นและดับไป และตกอยู่ในอำนาจของไตรลักษณ์ (อ้างอิงข้อมูลจาก http://book.dou.us/doku.php?id=md305:2)