RBR_003_290-299 รวมอยู่ใน “เลขที่ ๑๕ มหานิบาตทสชาติ (มโหสถ) อักษรธรรมล้านนา ภาษาบาลี-ไทยล้านนา ฉบับทองทึบ ๑๐ ผูก” บันทึก หน้าต้น ระบุ “ มโหสถ ผูกปลายแล :๛ถ้วนสิบแล :๛” / เขียนอักษรไทยด้วยปากกาลูกลื่นสีน้ำเงิน “มะโหสด ผูกที่ ๑๐” และเขียนอักษรธรรมล้านนา และตัวเลขไทย ด้วยดินสอ “ปาฺย ๑๐” ท้ายลาน ระบุ “มโหสถชาตกํ ปญฺจมํ นิฏฺฐิตํ ธมฺมเทสนา กริยาอันกล่าวแก้ไขยังมโหสถชาตก อันกดเข้ามาในชาติถ้วน ๕ ก็สมเร็จเสด็จแล้วเท่านี้ก่อนแล ๏ ฯ เสด็จแล้ว ปีชวด เดือน ๑๑ แรม ๑๐ ค่ำ วันพระหัส เมื่อตาวันบ่ายลงแล ข้าเขียนหัดใหม่ บ่เคย อย่าไปด่าข้าเนอ ข้อขอโมทนากับจิ่มส่วนบุญ ข้าขอสุข ๓ ประการ มีนิพพานแล้ว”
หน้าต้น เขียนอักษรไทย ด้วยปากกาลูกลื่นสีน้ำเงิน “ปัญหาสูตร” / ด้านหลัง หน้าต้น ระบุ “รัสสภิกขุหน้อยหน้าพราน (หนานพา?) อยู่บ้านหนองบัวเขียนแล้ว ๛” ท้ายลาน ระบุ “กล่าวยังธรรมอันชื่อว่า ปัญหาราชสูตร ก็แล้วเท่านี้ก่อนแล ๛” หน้าปลาย ระบุ “หน้าปลาย ปัญหาราชสูตรแล ıı นายเหย คำเดียวมับมับแล ıı รัสสภิกขุอ้าย บ้านหนองบัว สร้างไว้ด้วยมือตนแล นิพฺพาน ปจฺจโย โหตุ เม แก่ข้าแด่เทอะ ๛”
หน้าต้น ระบุ “๚ หนังสือชราสูตร มีผูกเดียวแล วัดดอนแจง” / เขียนอักษรไทยด้วยปากกาลูกลื่นสีน้ำเงิน “ชลาสุท” ท้ายลาน ระบุ “ชราสุตฺตํ นิฏฺฐิตํ กริยาอันสังวรรณยังธรรมเทศนา ชื่อว่า ชราสูตร ก็[สม]เร็จเสด็จแล้วเท่านี้ก่อนแล ıı๛ รัสสภิกขุเลื่อน ปางเมื่อบวชอยู่วัดดอนแจง อยากได้บุญเต็มที ขอหื้อได้มีประญาปัญญาแก่ข้าะ ”
หน้าต้น ระบุ “หน้าทับเค้า ชราสูตร แลท่านเหย” / เขียนอักษรไทย ด้วยปากกาลูกลื่นสีน้ำเงิน “ชราสูต” / “ชราสูตร” ท้ายลาน ระบุ “ชราสุตฺตํ นิฏฺฐิตํ กริยาอันสังวรรณนายังธรรมเทศนา ชื่อ ชราสูตร ก็สมเร็จเสด็จแล้วเท่านี้ก่อนแล ๚ ๛ จบ ณ วันศุกร์ เดือน ๑๑ ขึ้น ๕ ค่ำ วัน ๖ ยามเมื่อค่ำชาวบ้านเลี้ยงงัวในวัด ปีชวดแล ข้าขอส่วนบุญจิ่ม ข้าเกิดมาชาติใดแสนใด ขอหื้อได้เถิงนิพพาน ขออย่าหื้อนานนัก”
หน้าต้น ระบุ “ฯ หน้าทับเค้า ขันธนาม ผูกต้นนิมนต์ทุพี่ทุอาวองค์ใดได้เล่าได้เรียน ค่อยพิจารณาดูเทอะ แล้วขออภัยโทษทุกองค์ นิมนต์ช่วยถนี่ถนอมชักสายสยองอย่างหนึ่งช่วยเก็บไว้จิ่ม ผมได้หันมานักแล้ว ผู้ดีก็ดีเหลือล้น ผู้ชั่วก็ขี้บ่ปานแลนา ” / เขียนอักษรไทย ด้วยปากกาลูกลื่นสีน้ำเงิน “ขันธนู ผูก ๑” ท้ายลาน ระบุ “กริยาอันกล่าวห้องขันธนาม ผูกต้น ก็แล้วเท่านี้ก่อนแล ฯะ เสด็จแล้วยามตาวันบ่าย ๓ โมงกว่า ฯะ ปีมะเมีย เดือน ๘ แรม ๘ ค่ำ พร่ำว่าได้วันอาทิตย์แลนา ยังมีศรัทธาโยมหลวงอิ่มเป็นเจ้าใบลาน ฯ ยังมีศรัทธารัสสภิกขุปุย วัดนาหนอง ไปนำเอามายังหนังสือลาวมาแต่กวงลาด มาคัดออกไว้ยังเป็นลาวกึ่งยวนกึ่งบ่สู้ชัดเจนแท้ดีหลาย ฯ แล ยังมีศรัทธารัสสภิกขุทำ บ้านหัวนาไปนำเอามาจากวัดท่งหญ้าคมบาง เพราะว่ามาจำพรรษาอยู่กับทุอาวบุตรวัดบ้านโค้งดอย เพราะว่าได้สอบซ่อมกับเพิ่น ข้าก็บ่แตกฉาน ฯ แท้ ปัญญาก็หน้อยแลนา คันว่า ตกบ่ใคร่เพราะ แล้วช่วยเพิ่มเติมหื้อจิ่มเนอ ๚ ข้ามีศรัทธาสร้างจิ่ม เขียนจิ่ม พร้อมไปด้วยญาติโยมพี่น้องชู่ผู้ชู่ตน ขอสุข ๓ ประการ มีนิพพานเป็นยอดเขาะขอดเสี้ยงทุกอันเทอญ ฯะ ศาสนาล่วงไปได้ ๒ พัน ๔ ร้อย ๖ สิบ ๒ พระวัสสา” (ตัวเอียง จารไว้ขอบด้านขวาของหน้าลาน) หน้าปลาย เขียนอักษรไทย ด้วยปากกาเมจิกสีน้ำเงิน “ผูกต้น ผูกต้น มี ๗ ผูก”
RBR_003_305-311 รวมอยู่ใน “เลขที่ ๓๔ ขันธนู ผูก ๑ – ๗ อักษรธรรมล้านนา ภาษาบาลี-ไทยล้านนา ฉบับทองทึบ ๗ ผูก” หน้าต้น ระบุ “ฯ หน้าทับเค้า ขันธนาม ผูก ๒ คันว่า ทุพี่ทุอาวองค์ใดได้เล่าได้เรียน ค่อยพิจารณาดูเทอะ แล้วขออภัยโทษทุกองค์ ค่อยถนี่ถนอมเก็บไว้หื้อดีจิ่มเนอ ผมได้หันมานักแล้ว ผู้ดีก็ดีเหลือล้น ผู้ชั่วก็ขี้บ่ปานแลนา นิพฺพาน ปจฺจโย โหตุ เม อนาคเต กาเลน ธุวํ ธุวํ ฯะ ” / เขียนอักษรไทย ด้วยปากกาลูกลื่นสีน้ำเงิน “ขันธนู ผูก ๒”
หน้าต้น ระบุ “ฯ หน้าต้น ขันธนาม ผูก ๓ คันว่า ทุพี่ทุอาวองค์ใดได้เล่าได้เรียน นิมนต์ค่อยพิจารณาดูเทอะ แล้วขออภัยโทษทุกองค์ ช่วยตระนี่ตระหนอมเก็บไว้หื้อดีจิ่มเนอ ทุพี่ทุอาวเอย ผมได้หันมานัก คำเดียวผู้ดีก็ดีเหลือล้น ผู้ชั่วขี้บ่ปานแลนา นิพฺพาน ปจฺจโย โหตุ เม ธุวํ ธุวํ แก่ข้าแด่เทอะ ข้าเขียนบ่งาม ฯ ” / เขียนอักษรไทย ด้วยปากกาลูกลื่นสีน้ำเงิน “ขันธนู ผูก ๓” ท้ายลาน ระบุ “กล่าวห้อง ขันธนโพธิสัตว์เจ้า ผูกถ้วน ๓ ก็แล้วเป็นห้องเท่านี้ก่อนแล ฯ จตฺตาโร ธมฺมา วฑฺฒนฺติ อายุ วณฺโณ สขํ พลํ นิพฺพาน ปจฺจโย โหตุ เม อนาคเต กาเล ฯะ๛ รัสสภิกขุจันทสุวรรณ อยู่บ้านหัวนา มีศรัทธาสร้างเมื่อ ฯ ศักราชล่วงได้สองพันสี่ร้อยหกสิบสองแลนา ฯะ๛”
RBR_003_305-311 รวมอยู่ใน “เลขที่ ๓๔ ขันธนู ผูก ๑ – ๗ อักษรธรรมล้านนา ภาษาบาลี-ไทยล้านนา ฉบับทองทึบ ๗ ผูก” หน้าต้น ระบุ “ธมฺมฑำอีแภฺ่น ฯ หน้าต้น ขันธนาม ผูก ๔ คันว่า ทุพี่ทุอาวองค์ใดได้เล่าได้เรียน นิมนต์ค่อยพิจารณาดูเทอะ แล้วขออภัยโทษทุกองค์ ช่วยตระนี่ตระหนอมเก็บไว้หื้อดีจิ่มเนอ ทุพี่ทุอาวเอย ผมได้หันมานัก คำเดียว ผู้ดีก็ดีเหลือล้น ผู้ชั่วขี้บ่ปานแลนา นิพฺพาน ปจฺจโย โหตุ เม ธุวํ ธุวํ แก่ข้าแด่เทอะ ข้าเขียนบ่งาม ฯ ” / เขียนอักษรไทย ด้วยปากกาลูกลื่นสีน้ำเงิน “ขันธนู ผูก ๔” ท้ายลาน ระบุ “กริยาอันกล่าวห้อง ขัทธนาม ผูกถ้วน ๔ ก็แล้วเท่านี้ก่อนแล ๚ะ จตฺตาโร ธมฺมา วฑฺฒนฺติ อายุ วณฺโณ สุขํ พลนฺติ นิพฺพาน ปจฺจโย โหตุ เม อนาคเต กาเล ฯฯะ๛ ศักราชล่วงไปได้ สองพันสี่ร้อยหกสิบสอง ฯ ปีมะแม เดือน ๙ แรมสิบค่ำ วันพะหัส ฯฯ” หน้าปลาย ระบุ “หน้าต้น ขันธนแลนายเหยท่านทั้งหลาย”
RBR_003_305-311 รวมอยู่ใน “เลขที่ ๓๔ ขันธนู ผูก ๑ – ๗ อักษรธรรมล้านนา ภาษาบาลี-ไทยล้านนา ฉบับทองทึบ ๗ ผูก” หน้าต้น ระบุ “ฯ หน้าต้น ขันธนาม ผูก ๕ คันว่า ทุพี่ทุอาวองค์ใดได้เล่าได้เรียน นิมนต์ค่อยพิจารณาดูเทอะ แล้วผมขออภัยโทษทุกพระองค์ ช่วยตระนี่ตระหนอมเก็บไว้หื้อดีจิ่มเนอ ทุพี่ทุอาวเอย ผมได้หันมานักแล้ว ผู้ดีก็ดีเหลือล้น ผู้ชั่วขี้บ่ปานแลนายเหย ขอสุข ๓ ประการ มีนิพพานเป็นที่แล ธุวํ ธุวํ อนิจฺจํ อนตฺตา แก่ข้าแด่เทอะ” / เขียนอักษรไทย ด้วยปากกาลูกลื่นสีน้ำเงิน “ขันธนู ผูก ๕” และปากกาเมจิกสีเขียว “จำไว้แน” ท้ายลาน ระบุ “กริยาอันกล่าวขัทธนาม ผูกถ้วน ๕ ก็แล้วเท่านี้ก่อนแล ฯะ๛ จตฺตาโร ธมฺมา วฑฺฒนฺติ อายุ วณฺโณ สุขํ พลํ นิพฺพาน ปจฺจยฺโย โหตุ เม ı ปีมะแม เดือน ๑๐ ขึ้น ๓ ค่ำ วันภะหัส แลนา ฯฯ