ตำรายา กล่าวถึง ยาแก้ไข้ แก้ปวดท้อง แก้ลม ผิดสำแดง แก้ลิ้นกระด้าง แก้คลั่ง แก้สันนิบาต ฯลฯ ทะเบียนของหอจดหมายเหตุสาธารณสุขแห่งชาติ คือ (23) สบ. 23.1.4/11 นายทองอ่อน สิทธิไกรพงษ์ได้มอบให้หอจดหมายเหตุสาธารณสุขแห่งชาติเก็บรักษา
ตำรายาแขน ยาชุม และมีการเขียนด้วยหมึกสีน้ำเงินว่า พ่อแพทย์ ช่วงบุปผา คาดว่าจะเป็นเจ้าของเอกสารโบราณ ทะเบียนของหอจดหมายเหตุสาธารณสุขแห่งชาติ คือ (23) สบ. 23.1.4/13 นายทองอ่อน สิทธิไกรพงษ์ได้มอบให้หอจดหมายเหตุสาธารณสุขแห่งชาติเก็บรักษา
ตำรากล่าวถึง กัมมจอรผู้หญิง, เป็นฝีตามเดือน, ยาจอด ฯลฯ นอกจากนี้ยังพบว่าเอกสารโบราณฉบับนี้อังกามีหลายแบบ คาดว่านำใบลานจากหลายผูกมารวมกัน ทะเบียนของหอจดหมายเหตุสาธารณสุขแห่งชาติ คือ (23) สบ. 23.1.4/15 นายทองอ่อน สิทธิไกรพงษ์ได้มอบให้หอจดหมายเหตุสาธารณสุขแห่งชาติเก็บรักษา
ตำรายาทั้งมวล กล่าวถึงตำรายาหลายอย่าง อาทิ ยาแก้ไข้, ตีนเย็น อีกทั้งยังระบุว่าผู้สร้างเอกสารโบราณคือ ท่านบุปผา ทะเบียนของหอจดหมายเหตุสาธารณสุขแห่งชาติ คือ (23) สบ. 23.1.4/12 นายทองอ่อน สิทธิไกรพงษ์ได้มอบให้หอจดหมายเหตุสาธารณสุขแห่งชาติเก็บรักษา
ทะเบียนของหอจดหมายเหตุสาธารณสุขแห่งชาติ คือ (23) สบ. 23.1.4/10 นายทองอ่อน สิทธิไกรพงษ์ได้มอบให้หอจดหมายเหตุสาธารณสุขแห่งชาติเก็บรักษา
คัมภีร์ว่าด้วยทุรวาษา 4 ประการ อาทิ มุตกิต โทสันทะฆาต ตรีสันทฆาต ทะเบียนของหอจดหมายเหตุสาธารณสุขแห่งชาติ คือ (23) สบ. 23.1.4/9 นายทองอ่อน สิทธิไกรพงษ์ได้มอบให้หอจดหมายเหตุสาธารณสุขแห่งชาติเก็บรักษา
ตำรายารักษาโรคต่างๆ เช่น แก้ตุ่ม ยาเลือด แก้ไข้ แก้ปวดตีน แก้ชัก แก้เป็นบ้า แก้พิษ ทะเบียนของหอจดหมายเหตุสาธารณสุขแห่งชาติ คือ (23) สบ. 23.1.4/7 นายทองอ่อน สิทธิไกรพงษ์ได้มอบให้หอจดหมายเหตุสาธารณสุขแห่งชาติเก็บรักษา
อังกา มี 2 แบบ คือ อักษรไทย ก กา กิ กี กู เก โก ไก และ เลขไทย ๑๓-๑๘ สันนิษฐานว่ามาจากใบลานคนละฉบับ ทะเบียนของหอจดหมายเหตุสาธารณสุขแห่งชาติ คือ (23) สบ. 23.1.4/6 นายทองอ่อน สิทธิไกรพงษ์ได้มอบให้หอจดหมายเหตุสาธารณสุขแห่งชาติเก็บรักษา
ทะเบียนของหอจดหมายเหตุสาธารณสุขแห่งชาติ คือ (23) สบ. 23.1.4/5 นายทองอ่อน สิทธิไกรพงษ์ได้มอบให้หอจดหมายเหตุสาธารณสุขแห่งชาติเก็บรักษา