เอกสารโบราณ

เส้นตัวอักษร : จาร

พบผลลัพธ์ทั้งหมด 876 รายการ (98 หน้า)

NPH001-010 ตำราสันนิบาต ประสะไข้

ตำราเวชศาสตร์
หอจดหมายเหตุสาธารณสุขแห่งชาติ , ทองอ่อน สิทธิไกรพงษ์ , เอกสารโบราณ , หมอยา

ทะเบียนของหอจดหมายเหตุสาธารณสุขแห่งชาติ คือ (23) สบ. 23.1.4/10 นายทองอ่อน สิทธิไกรพงษ์ได้มอบให้หอจดหมายเหตุสาธารณสุขแห่งชาติเก็บรักษา

NPH001-009 คัมภีร์ว่าด้วยทุรวาษา 4 ประการ

ตำราเวชศาสตร์
หอจดหมายเหตุสาธารณสุขแห่งชาติ , ทองอ่อน สิทธิไกรพงษ์ , เอกสารโบราณ , หมอยา

คัมภีร์ว่าด้วยทุรวาษา 4 ประการ อาทิ มุตกิต โทสันทะฆาต ตรีสันทฆาต ทะเบียนของหอจดหมายเหตุสาธารณสุขแห่งชาติ คือ (23) สบ. 23.1.4/9 นายทองอ่อน สิทธิไกรพงษ์ได้มอบให้หอจดหมายเหตุสาธารณสุขแห่งชาติเก็บรักษา

NPH001-007 ตำรายา อ.ทองนาค บ.กระพี้

ตำราเวชศาสตร์
หอจดหมายเหตุสาธารณสุขแห่งชาติ , ทองอ่อน สิทธิไกรพงษ์ , เอกสารโบราณ , หมอยา

ตำรายารักษาโรคต่างๆ เช่น แก้ตุ่ม ยาเลือด แก้ไข้ แก้ปวดตีน แก้ชัก แก้เป็นบ้า แก้พิษ ทะเบียนของหอจดหมายเหตุสาธารณสุขแห่งชาติ คือ (23) สบ. 23.1.4/7 นายทองอ่อน สิทธิไกรพงษ์ได้มอบให้หอจดหมายเหตุสาธารณสุขแห่งชาติเก็บรักษา

NPH001-006 ตำรายา คาถาแก้เลือด แก้ลม แก้ซาง

ตำราเวชศาสตร์
หอจดหมายเหตุสาธารณสุขแห่งชาติ , ทองอ่อน สิทธิไกรพงษ์ , เอกสารโบราณ , หมอยา

อังกา มี 2 แบบ คือ อักษรไทย ก กา กิ กี กู เก โก ไก และ เลขไทย ๑๓-๑๘ สันนิษฐานว่ามาจากใบลานคนละฉบับ ทะเบียนของหอจดหมายเหตุสาธารณสุขแห่งชาติ คือ (23) สบ. 23.1.4/6 นายทองอ่อน สิทธิไกรพงษ์ได้มอบให้หอจดหมายเหตุสาธารณสุขแห่งชาติเก็บรักษา

NPH001-005 พะทำมะสาด (คดีวิวาท) ร.ศ. 1263

กฎหมาย
หอจดหมายเหตุสาธารณสุขแห่งชาติ , ทองอ่อน สิทธิไกรพงษ์ , กฎหมาย

ทะเบียนของหอจดหมายเหตุสาธารณสุขแห่งชาติ คือ (23) สบ. 23.1.4/5 นายทองอ่อน สิทธิไกรพงษ์ได้มอบให้หอจดหมายเหตุสาธารณสุขแห่งชาติเก็บรักษา

SKN001-115 มหาเวสสันดร กัณฑ์ 7 มหาพน

ธรรมคดี
มอญ , บาลี , ใบลาน , ล่องชาด , วัดเจ็ดริ้ว , สมุทรสาคร , ธรรมคดี , มหาเวสสันดร , เวสสันดร , ชาดก , กัณฑ์ , มหาพน

กัณฑ์ที่ 7 คือกัณฑ์มหาพน เล่าต่อจากกัณฑ์จุลพน พูดถึงการหลอกคนให้หลงเชื่อของชูชก ชูชกหลอกถามทางอัจจุตฤๅษี

SKN001-112 มหาเวสสันดร กัณฑ์ 13 นครกัณฑ์

ธรรมคดี
มอญ , บาลี , ใบลาน , ล่องชาด , วัดเจ็ดริ้ว , สมุทรสาคร , ธรรมคดี , มหาเวสสันดร , เวสสันดร , ชาดก , กัณฑ์

กัณฑ์ 13 คือนครกัณฑ์ เป็นกัณฑ์สุดท้ายพูดถึงการเสด็จกลับเมืองเชตุดรของพระเวสสันดร ซึ่งเมื่อกลับไปถึงพระเวสสันดรก็ได้ขึ้นครองราชสมบัติ (ข้อมูลจาก https://th.wikipedia.org/wiki/มหาเวสสันดรชาดก)

RBR003-300 ปัญหาราชสูตร

ธรรมคดี
ไทยวน , เชียงแสน , ล้านนา , ราชบุรี , ปัญหาสูตร

หน้าต้น ระบุ “ หน้าทับเค้า ปัญหาราชสูตรแล ฯฯ:๛” ท้ายลาน ระบุ “กล่าวยังธรรมอันชื่อว่า ปัญหาราชสูตร ก็แล้วเท่านี้ก่อนแล ๚ เสด็จแล้ววันศุกร์ เดือน ๙ ขึ้น ๔ ค่ำ ปีระกา ๚ หน้าทับเค้าปัญหาราชสูตร รัสสภิกขุหนูถอด อยู่บ้านหัวขัว มีศรัทธามาหื้อรัสสภิกขุ เขียนบ่ดีสักหน้อย ลางตัวก็ใหญ่ ลางตัวก็น้อยแลนายเหย รัสสภิกขุได้เทศนาค่อยพิจารณาดูหื้อดีแด่เทอะ ฯฯ”

RBR003-175 ปทุมมุกขกุมาร ผูกเดียว

ธรรมคดี
ไทยวน , เชียงแสน , ล้านนา , ราชบุรี , วรรณกรรมพื้นบ้าน , ชาดก , ปทุมมุกขกุมาร

RBR_003_171-175 มัดรวมกันอยู่ใน “เลขที่ 37 ปทุมกุมาร อักษรธรรมล้านนา ภาษาบาลี-ไทยล้านนา ฉบับทองทึบ มี 4 ผูก” ลานแรกด้านซ้ายมือ ระบุ “ปทุมมุกขกุมาร” และเขียนอักษรไทยด้วยปากกาลูกลื่นสีน้ำเงิน “ผูกเดียว” ท้ายลาน ระบุ “สุวณฺณปทุมมุกฺขกุมารชาตกํ นิฏฺฐิตํ กิริยาอันเ[ท]ศนายังปทุมมุกขกุมารชาดก ก็สมเร็จเสด็จแล้วเท่านี้ก่อนแล๛ จุลศักราชล่วงไปได้ ๒๐๐๐ ๔๐๐ ๖๐ ๗ วัสสา เสด็จแล้วปีมะเมีย ฉศก ตกเข้าในวสันตฤดู เดือน ๙ แรม ๑๒ ค่ำ วัน ๓ ยามตูดเพลแล้วน้อย ๑ ศรัทธาโยมมูร โยมดา ยังอุบายขงขวายหาได้ยังใบลานมาหื้อภิกขุฅุ้มเขียนปางเมื่ออยู่วัดทุ่งหญ้าคมบางทางงาม หาบ่ได้สักหน้อย พอหยาดเป็นถ้อย ติดตามใบลาน โยมมูร โยมดา กับผู้เขียน ขอหื้อมีสุข ๓ ประการ มีนิพพานเป็นยอด น ปจฺเจโย โหตุ เม นิจฺจํ ธุวํ (ควรเป็น นิพฺพาน ปจฺจโย โหตุ เม นิจฺจํ ธุวํ) แก่ข้าแด่เทอะ ฯฯ๛” หน้าทับปลาย เขียนอักษรไทยด้วยปากกาลูกลื่นสีน้ำเงิน “กุมาร ผูก ๘ กุมาร ผูก ๘”