RBR_003_252-261 รวมอยู่ใน อยู่ใน “เลขที่ 144 มหาวงศ์ อักษรธรรมล้านนา ภาษาบาลี-ไทยล้านนา ฉบับทองทึบ 10 ผูก” หน้าต้น ระบุ “๏ หน้าทับเค้า มหาวงศ์ ผูกถ้วน ๑๐ มีอยู่สิบผูกกับด้วยกันแล” / เขียนอักษรไทย ด้วยปากกาลูกลื่นสีแดง “ผูกที่ ๑๐”และสีน้ำเงิน “มหาวงค์ ผูกที่ ๑๐” / เขียนอักษรไทยด้วยปากกาเมจิกสีน้ำเงิน “มะหาวงฺผุก ๑๐ วัดดอนแจ่ง” ท้ายลาน ระบุ “กริยาอันเทศนามหาวงศ์ผูกถ้วนสิบ ก็สมเร็จเสด็จบรมวลด้วยประการดั่งนี้เป็นห้องก่อนและ ฯ เจ้าเหย” หน้าปลาย ระบุ “๚ หน้าปลายมหาวงศ์ ผูกถ้วนสิบแล เจ้าเหยตัวบ่ใคร่งามเต็มทีเนอ คล่องแล้วตามสบับ” (ตัวเอียงไม่ลงหมึก)
RBR_003_262-276 รวมอยู่ใน “เลขที่ 104 พุทธวงศ์ อักษรธรรมล้านนา ภาษาบาลี-ไทยล้านนา ฉบับทองทึบ 15 ผูก” หน้าต้น ระบุ “๚ หน้าต้น พุทธวงศ์ ผูกต้น มี ๑๕ ผูกกับกันแล คล่องแล้ว” (ตัวเอียงไม่ลงหมึก) ท้ายลาน ระบุ “กริยาอันกล่าวพุทธวงศ์ ผูกต้นก็แล้ว เท่านี้ก่อนและ ฯ นิพฺพานํ สุขํ แท้แล” หน้าปลาย ระบุ “๏ หน้าปลาย พุทธวงศ์ ผูก ๑ แล บริบูรณ์แล้ววัน ๔ ยามบ่าย ๒ โมง เดือน ๔ แรม ๑ ค่ำ แล”
RBR_003_262-276 รวมอยู่ใน “เลขที่ 104 พุทธวงศ์ อักษรธรรมล้านนา ภาษาบาลี-ไทยล้านนา ฉบับทองทึบ 15 ผูก” หน้าต้น ระบุ “ฯฯ หน้ารับเค้า พุทธวงศ์ ผูกถ้วน ๓ แล บริบูรณ์ยาม ๒ ทุ่ม ๒ และ คล่องแล้ว” (ตัวเอียงไม่ลงหมึก) ท้ายลาน ระบุ “กริยาอันกล่าวพุทธวงศ์ ผูกถ้วน ๓ ก็สมเร็จเสด็จแล้ว เท่านี้ก่อนแล ๚ ปริปุณณาแล้ว ยาม ๒ ทุ่ม เดือน ๙ แรม ๘ ค่ำ พร่ำว่าได้วันศุกร์ ยามนั้นแล” หน้าปลาย ระบุ “ฯ หน้าปลาย พุทธวงศ์ ผูกถ้วน ๓ มีอยู่สิบ ๕ กับกันแลเจ้าเหย คล่องแล้ว” (ตัวเอียงไม่่ลงหมึก)
RBR_003_262-276 รวมอยู่ใน “เลขที่ 104 พุทธวงศ์ อักษรธรรมล้านนา ภาษาบาลี-ไทยล้านนา ฉบับทองทึบ 15 ผูก” หน้าต้น ระบุ “๚ หน้าต้น พุทธวงศ์ ผูกถ้วน ๔ มีอยู่สิบ ๕ ผูกกับกันและเจ้าเหย คล่องแล้ว” (ตัวเอียงไม่ลงหมึก) หน้าปลาย ระบุ “๏ หน้าปลาย พุทธวงศ์ ผูกถ้วน ๔ แล เจ้าที่ไหว้เหย ๚ คล่องแล้ว” (ตัวเอียงไม่ลงหมึก)
RBR_003_262-276 รวมอยู่ใน “เลขที่ 104 พุทธวงศ์ อักษรธรรมล้านนา ภาษาบาลี-ไทยล้านนา ฉบับทองทึบ 15 ผูก” หน้าต้น ระบุ “๚ หน้าต้น พุทธวงศ์ ผูกถ้วน ๕ มีอยู่สิบ ๕ ผูกกับกันแล คล่องแล้ว หน้าต้นพุทธวงศ์ผูก ๕” (ตัวเอียงไม่ลงหมึก) ท้ายลาน ระบุ “กริยากล่าววรรณนาพุทธวงศ์ ผูกถ้วน ๕ ก็สมเร็จเสด็จแล้ว เท่านี้ก่อนแล ๚ นิพฺพานํ โหตุ เม นิจฺจํ ฯฯ” หน้าปลาย ระบุ “ฯ หน้าปลาย พุทธวงศ์ ผูกถ้วน ๕ แล เจ้าที่ไหว้เหย คล่องแล้ว” (ตัวเอียงไม่ลงหมึก)
หน้าต้น ระบุ “ฯ หน้าต้น พุทธวงศา ผูกถ้วน ๓ แล เจ้าเหย คล่องแล้ว” (ตัวเอียงไม่ลงหมึก) ท้ายลาน ระบุ “กริยากล่าวพุทธวงศา ผูกถ้วน ๓ ก็สมเร็จเสด็จแล้ว เท่านี้ก่อนและ ฯ นิพฺพาน ปจฺจยฺโย โหตุ เม นิจฺจํ ดั่งนี้แด่เทอะ ฯ บริบูรณ์แล้ว ยาม ๒ ทุ่มเศษแล เท่านี้เป็นห้องก่อนและ ฯ” หน้าปลาย ระบุ “ฯ หน้าปลาย พุทธวงศา ผูกถ้วน ๓ มีอยู่สิบ ๕ ผูกแล คล่องแล้ว” (ตัวเอียงไม่ลงหมึก)
หน้าต้น ระบุ “ฯ หน้าต้น พุทธวงศ์ ผูกถ้วน ๗ บริบูรณ์แล้ว คล่องแล้ว” (ตัวเอียงไม่ลงหมึก) ท้ายลาน ระบุ “กริยาอันกล่าวพุทธวงศา ผูกถ้วน ๗ ก็สมเร็จเสด็จแล้ว เท่านี้ก่อนแล ๚ ปริปุณณาแล้ว ยาม ๒ ทุ่มแล เจ้าเหย อายุ สุขํ ปวฒนฺตุโน ฯฯ” หน้าปลาย ระบุ “ฯ หน้าปลาย พุทธวงศ์ ผูกถ้วน ๗ แล้ว เท่านี้แล คล่องแล้ว” (ตัวเอียงไม่ลงหมึก)
หน้าต้น ระบุ “๚ หน้ารับเค้า พุทธวงศา ผูกถ้วน ๘ แล เจ้าเหย ฯ คล่องแล้ว” (ตัวเอียงไม่ลงหมึก) ท้ายลาน ระบุ “กริยาอันกล่าววรรณนายังวงศาแห่งพระพุทธเจ้าวิปัสสิตนถ้วน ๑๙ ก็แล้ว เท่านี้ก่อนและ ฯ จบบริบูรณ์และ ะ๛” หน้าปลาย ระบุ “ฯ หน้ารับปลาย พุทธวงศา ผูกถ้วน ๘ มีอยู่ ๑๕ ผูกด้วยกันแล ฯฯ คล่องแล้ว” (ตัวเอียงไม่ลงหมึก)
หน้าต้น ระบุ “ฯ หน้ารับเค้า พุทธวงศ์ ผูกถ้วน ๙ มีอยู่ ๑๕ ผูกด้วยกันและ คล่องแล้ว” (ตัวเอียงไม่ลงหมึก) ท้ายลาน ระบุ “กริยาอันกล่าวยังพุทธวงศา ผูกถ้วน ๙ ก็แล้ว เท่านี้ก่อนแล ฯ บริบูรณ์แล้ว ยาม ๒ ทุ่มเจ้าเหย จลอนว่าผิดเพี้ยนเปลี่ยนอักษรกลอนคำธรรมพระพุทธสินนสีเจ้า (ชินสีห์เจ้า) สาธุใส่แปลงแต่ใส่หื้อข้าเจ้า จิ่มพร่องเทอะ เจ้าที่ไหว้เป็นไม้ไต้ส่องหนทางนิพพานแด่เทอะ” หน้าปลาย ระบุ “ฯ หน้ารับปลาย พุทธวงศ์ ผูกถ้วน ๙ บริบูรณ์ ยาม ๒ ทุ่มและ คล่องแล้ว” (ตัวเอียงไม่ลงหมึก)