RBR_003_305-311 รวมอยู่ใน “เลขที่ ๓๔ ขันธนู ผูก ๑ – ๗ อักษรธรรมล้านนา ภาษาบาลี-ไทยล้านนา ฉบับทองทึบ ๗ ผูก” หน้าก่อนหน้าต้น เขียนอักษรไทย ด้วยปากกาเมจิกสีน้ำเงิน “ขันธนู ผูก ๗” หน้าต้น ระบุ “ฯ หน้าต้น ขันธนาม ผูก ๗ คันว่า ทุพี่ทุอาวองค์ใดได้เล่าได้เรียน ค่อยพิจารณาดูเทอะ แล้วขออภัยโทษทุกพระองค์ ช่วยตระนี่ตระหนอมเก็บไว้หื้อดีจิ่มเนอ ทุพี่ทุอาวเอย ผมได้หันมานักแล้ว ผู้ดีก็ดีเหลือล้น ผู้ชั่วก็ขี้บ่ปานแลนานายเหย โอ นิพฺพาน ปจฺจโย โหตุ เม อนาคเต กาเลน ฯฯะ๛” / เขียนอักษรไทย ด้วยปากกาลูกลื่นสีน้ำเงิน “ขันธนู ผูก ๗” / เขียนอักษรไทย ด้วยดินสอ “ไม่มีใครจะมาเอาไปให้แก่อะธิบาย” ท้ายลาน ระบุ “ขัทธนชาตกํ นิฏฺฐิตํ ก็สมเร็จเสด็จแล้วบรมวลควรกาลเท่านี้ก่อนแล ฯฯะ จบ ฯฯะ โอ้โห้ จบแล้วแหน่ ฯ จบยามเมื่อฬกาตีห้าโมงค่ำ พร่ำว่าได้วันเสาร์ เดือน ๑๐ แหม ๑๑ ปีมะแม พุทธศักราชล่วงไปได้สองพันสี่ร้อยหกสิบสอง เขียนปางเมื่อมาจำพรรษาอยู่วัดเขาลอยมูลโค ı รัสสภิกขุปุย ไปนำเอาหนังสือลาวมาแต่วัดกวงลาด มาคัดไว้เป็นคำยวนแล้วยังมีศรัทธาทำไปนำเอามาแต่วัดท่งหญ้าคมบางมาม้างไว้ในพระศาสนา ๕ พันวัสสา พร้อมไปด้วยโยมทัง ๒ คือว่า พี่น้องชู่ผู้ชู่คน ข้าผู้เขียน ชื่อว่า จันทสุวรรณ ทำ อยู่บ้านหัวนา ı ขอสุข ๓ ประการ นิพพานเป็นที่แล้ว กับเจ้าของใบลานโยมหลวงอิ่มได้หกผูก ผูก ๗ นี้ ของทุอาวบุตรเพิ่น นิพฺพาน ปจฺจโย โหตุ เม ฯ เขียนบ่ดีสักน้อยเหมือนปูยาดคันนา”
ขันธนาม ผูก 7 (RBR003-311). (2564). สืบค้น 06 กุมภาพันธ์ 2568. จาก ฐานข้อมูลเอกสารโบราณภูมิภาคตะวันตกในประเทศไทย. http://manuscripts.sac.or.th/manuscript-info.php?id=714
ขันธนาม ผูก 7 (RBR003-311). [ออนไลน์]. เข้าถึงจาก : http://manuscripts.sac.or.th/manuscript-info.php?id=714. (วันที่ค้นข้อมูล : 06 กุมภาพันธ์ 2568)
ขันธนาม ผูก 7 (RBR003-311). สืบค้นเมื่อ 06 กุมภาพันธ์ 2568. http://manuscripts.sac.or.th/manuscript-info.php?id=714